Now showing items 1-17 of 17

    • ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และความเหมาะสมในการนำเครื่องมือฉายรังสีโปรตอนมาใช้สำหรับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2543 โดยใช้การทบทวนเอกสารวิช ...
    • งบประมาณในการดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: 1,202 บาทต่อคนต่อปีมาจากไหน 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      นโยบายรัฐบาลในการดำเนินการโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2544 นั้น กระทรวงสาธารณสุขและนักวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ตัดสินใจใช้รูปแบบการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ในระบบปลายปิด ได้แก่ รายจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการผู้ป่วยนอก ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ...
    • ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ...
    • ปัจจัยในการตัดสินใจเชิงนโยบายและสิ่งท้าทายของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาลในลักษณะการเหมาจ่ายรายหัว(CAPITION CON-TRACT MODEL) ร่วมกับการจ่ายเงินตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแทนที่จะใช้วิธีการจ่ายเงินตามรายการร ...
    • ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ...
    • สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านผู้ให้บริการหน่วยรังสีรักษาและผู้รับบริการซึ่งหมายถึงผู้ป่วยมะเร็งที่ต้ ...
    • สถานพยาบาลต้องปรับตัวอย่างไรภายใต้นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า-กรณีศึกษาจังหวัดจันทบุรี 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินด้านรายจ่ายและรายรับภายใต้ฉากทัศน์ต่างๆ ของการดำเนินการตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า และต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยของสถานพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีปีงบประมาณ 2543 ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ...
    • อัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การเปลี่ยนแปลงอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนไทยและต้นทุนสถานพยาบาลระดับต่างๆ เป็นแรงกดดันให้มีการปรับอัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...