Now showing items 1-10 of 10

    • การทบทวนองค์ความรู้และการวิเคราะห์ทิศทางการวิจัยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย พ.ศ. 2493-2550 

      จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ; โศภิต นาสืบ; กมลา วัฒนพร; แววดาว พิมพ์พันธ์ดี; วรานิษฐ์ ลำใย; ณัฐยาพัชญ์ คำมณีจันทร์; ชะวะลีพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม; ปนรรฐพร จงประเสริฐยิ่ง; วิทยา วิสูตรเรืองเดช; กัณณพนต์ ภักดีเศรษฐกุล (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2551-11)
      รวมรายชื่อของงานวิจัย หรือการสํารวจวิทยานิพนธ์ และหนังสือที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชื่อผู้วิจัยหรือผู้เขียน แหล่งที่มาของเอกสาร รวมทั้งบทคัดย่อของงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 4 ด้าน คือ ด้านอุปสงค์ ...
    • การพัฒนาและใช้ประโยชน์ระบบข้อมูลเพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; ปิยะดา ประเสริฐสม; ผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ; ทัศนีย์ ญาณะ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจัดการความรู้และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ซึ่งเกิดจากเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่วิเคราะห์ข้อมูลบางส่วนของตนเองตามสถานการณ์และความสนใจของพื้นที่ ทั้งในระดับอำเภอ ระดับศูนย์สุขภาพชุมชน ...
    • การศึกษาความต้องการและทบทวนดัชนีชี้วัดปัญหาแอลกอฮอล์ระดับนานาชาติและระดับชาติและการพัฒนาดัชนีชี้วัดปัญหาแอลกอฮอล์ 

      บัณฑิต ศรไพศาล; จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ; กมลา วัฒนพร (สานักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2553)
      การแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีความจำเป็นที่จะต้องรู้สถานการณ์ต่างๆ อย่างถ่องแท้ เหมือนการออกเดินทางผจญภัยหากรู้ลมฟ้าอากาศจะทำให้สามารถเตรียมการรองรับได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การจะรู้สถานการณ์ที่แม่นยำได ...
    • การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่จำหน่ายและพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้บริโภค 

      กนิษฐา ไทยกล้า (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ 1. เพื่อศึกษาบริบทการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเทศบาลนครเชียงใหม่ 2. เพื่อสำรวจการกระจายตัวของสถานที่จำหน่าย/ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเขตพื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ 3. เพื่อสำรวจพฤติก ...
    • การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; อโนชา หมึกทอง; ถนอมศรี อินทนนท์ (เครือข่ายวิชาการวิจัยและข้อมูลด้านสารเสพติดในภาคใต้สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551-11)
      การดื่มสุราและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพอื่นๆ เป็นปัญหาทางสังคมและสาธารณสุขที่สำคัญที่พบมากขึ้นในวัยรุ่นทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ สุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสารเสพติดที่วัยรุ่นนิยมใช้มากที่สุด และทำให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย ...
    • รายงานสถานการณ์สุราประจำปี 2549 

      บัณฑิต ศรไพศาล; จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ; ดวงกมล ไชยพุทธ; กมลา วัฒนพร; โศภิต นาสืบ; ดารินทร์ กำแพงเพชร; พสิษฐ์ วินยางค์กูล (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2549-12)
      รวบรวมและนำเสนอข้อมูลเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการบริโภคสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
    • รายงานสถานการณ์สุราประจำปี 2550 

      บัณฑิต ศรไพศาล; จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ; ศุภพงศ์ อิ่มสรรพางค์; กมลา วัฒนพร; โศภิต นาสืบ; วิภาดา อันล้ำเลิศ (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550-11)
      รวบรวมและนำเสนอข้อมูลเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการบริโภคสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
    • รายงานสถานการณ์สุราประจำปี 2551 

      บัณฑิต ศรไพศาล; จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ; กมลา วัฒนพร; โศภิต นาสืบ; แวดาว พิมพ์พันธ์ดี; กัณณพนต์ ภักดีเศรษฐกุล (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2551-11)
      รวบรวมและนำเสนอข้อมูลเพื่อประโยชน์เกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการบริโภคสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
    • วิเคราะห์คุณภาพข้อมูลมะเร็งและศึกษาสถานการณ์โรคมะเร็งและความสัมพันธ์กับแนวโน้มและการกระจายของปัจจัยเสี่ยงจากแหล่งข้อมูลต่างๆ 

      หัชชา ศรีปลั่ง (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ, 2553-07)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์ คุณภาพของการจดทะเบียนและแหล่งข้อมูลอื่นๆ 2. เพื่อรวบรวม วิเคราะห์สถานการณ์โรคมะเร็งและความสัมพันธ์กับแนวโน้มและการกระจายของปัจจัยเสี่ยง จากแหล่งข้อมูลที่มีเพื่อการวางยุทธศาสตร์การแก้ปัญหา ...
    • สถานภาพการบริโภคสุรา พ.ศ. 2550 

      อภินันท์ อร่ามรัตน์; มานพ คณะโต; สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; นพดล กรรณิกา; อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา; อุษณีย์ พึ่งปาน (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2551-11-20)
      โครงการสำรวจครัวเรือนระดับชาติเพื่อประมาณการจำนวนผู้ที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปีพ.ศ. 2550 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการจำนวนประชากรที่เคยใช้สารเสพติดชนิดต่างๆ รวมทั้งยารักษาโรค บุหรี่ และเครื่อง ...