Now showing items 201-220 of 330

    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2548 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-11)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • ความดันโลหิตสูงในคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-09)
      ความดันโลหิตสูง เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โดยพบว่าความดันซิสโตลิกที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ 10 มิลลิเมตรปรอท จะทำให้ความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 และโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นร้อยละ ...
    • การบริโภคผักผลไม้ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-08)
      อาหารที่บริโภค มีความสำคัญต่อสภาวะสุขภาพ การศึกษาในอดีตพบว่าผักและผลไม้มีผลในด้านเป็นปัจจัยคุ้มครอง (protective factor) ต่อโรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease) โรคหลอดเลือดในสมอง (stroke) มะเร็งปอดและมะเร็งของทางเดินอาหาร ...
    • ปัจจัยเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนน 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-03)
      การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนนของการศึกษานี้ ใช้ข้อมูลเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (Injury Surveillance หรือ IS) จากโรงพยาบาล 28 แห่งทั่วประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2542 – 2546 (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ...
    • พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-06)
      โดยทั่วไปการสูบบุหรี่หมายความรวมถึงการใช้ยาสูบ (tobacco) ในหลายวิธีด้วยกัน ที่แพร่หลายมากที่สุดคือ การมวนใบยาสูบด้วยกระดาษทั้งที่ทำในโรงงานหรือมวนเองที่บ้าน การสูบโดยนำยาสูบบรรจุในกล้องแล้วจุดสูบคือไปป์ (pipe) หรือเคี้ยว ...
    • สถานการณ์อุบัติเหตุทางถนน 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-02)
      ประเทศไทย มีจำนวนอุบัติเหตุทางถนนเกิดขึ้นเฉลี่ย 75,000 ครั้งต่อปี มีผู้เสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 13,000 ราย และมีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่ต่ำกว่าปีละ 900,000 ราย คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียประมาณ 100,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น จึงอาจกล่า ...
    • การประเมินความเสี่ยงต่อเบาหวาน 

      วิชัย เอกพลากร (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-01)
      ปัจจุบันเบาหวาน เป็นหนึ่งในโรคเรื้อรังที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและคร่าชีวิตมนุษย์มากที่สุดโรคหนึ่ง และมีแนวโน้มอัตราการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้นในอนาคต จากสถิติจำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 50 ล้านคนในปีพ.ศ. 2528 เพิ่มเป็นกว่า 170 ...
    • สถานการณ์ไข้หวัดนกในประเทศไทย 

      ปรีชา เปรมปรี; เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย; ถนอม น้อยหมอ; ฉันทนี บูรณะไทย (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-12)
      โรคไข้หวัดนก เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ type A ในตระกูล Orthomyxoviridae ซึ่งก่อการให้เกิดการติดเชื้อทั้งในมนุษย์ และสัตว์หลายชนิด เช่น ม้า สุกร แมว นก ไก่ เป็นต้น การเกิดโรคในสัตว์โดยเฉพาะในสัตว์ปีกเกิดขึ้นมานานกว่า ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • โรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย 

      เครือข่ายข่าวสารโรคมะเร็งไทย (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ประเทศไทย ได้ใช้ระบบการเฝ้าระวังโรคมะเร็งโดยใช้ทะเบียนมะเร็งประชากรในแต่ละภาคของประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา ด้วยการสนับสนุนขององค์กรวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ (International Agency for Research on Cancer: IARC) ...
    • การดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-06)
    • การตายตามเศรษฐกิจสังคมของพื้นที่ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-09)
      การตาย เป็นผลลัพธ์ของการพัฒนาด้านสาธารณสุข และเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ในทางหนึ่ง เป็นการยกระดับความเป็นอยู่ของชีวิตให้ดีขึ้น ช่วยลดโอกาสในการสัมผัสปัจจั ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ในปีหนึ่งๆ ประชากรในประเทศของเราต้องจ่ายเงิน เพื่อการรักษาพยาบาลตนเองไปมากน้อยเพียงใด? อาจมีผู้สงสัยว่าเมื่อเราจ่ายภาษีแล้ว ทำไมเรายังต้องมารับภาระในการจ่ายเงินเพื่อซื้อประกันสุขภาพจากบริษัทเอกชนอีก คำถามเหล่านี้ทำให้ต้อ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ.2547 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-04)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • การตายของมารดาในประเทศไทย 

      ยงเจือ เหล่าศิริถาวร; Yongjua Laosiritaworn (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      การตายของมารดา มีผลกระทบต่อการพัฒนาสาธารณสุขอย่างสูง อัตราส่วนการตายมารดา (Maternal mortality ratio, MMR) เป็นเครื่องบ่งชี้ด้านสุขภาพอนามัยที่สำคัญ ของประชาชนและถูกใช้เป็นตัวชี้วัดสำคัญ ของงานอนามัยแม่และเด็ก ประเทศต่างๆ ...
    • ความแตกต่างของการตายระหว่างพื้นที่ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ความตาย เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในทางความเชื่อ หลายคนอาจจะมองว่า การตายเป็นสิ่งที่ถูกกำหนดไว้แล้วล่วงหน้า หรือเป็นผลมาจากกรรมเก่า ที่มนุษย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ อันเป็นไปตามธรรมชาติ หรือวิบากกรรมของแต่ละคน แต่ใน ...
    • การขยายวงของปัญหาการก่อการร้ายภายในประเทศ 

      สมัย ใจอินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • ความไม่แน่นอนจากผลกระทบของภัยธรรมชาติที่รุนแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสาธารณสุข 

      ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • ความไม่แน่นอนอันเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญต่อแนวโน้มในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)