Show simple item record

Evaluation of Hospital Quality Improvement in Mayo Public Hospital by Concept of the Thailand Quality Award

dc.contributor.authorนิรันดร์ วิชเศรษฐสมิตen_US
dc.contributor.otherNirund Wichasetsmithen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-09-19T09:09:29Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:24:20Z
dc.date.available2008-09-19T09:09:29Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:24:20Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2551) : 274-283en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/105en_US
dc.description.abstractการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลให้ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพ เป็นเรื่องสำคัญที่หน่วยบริการทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญ สถานบริการและโรงพยาบาลทุกแห่งต้องมีการพัฒนาด้านบริการให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์กำหนดเพื่อบรรลุเป้าหมายการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน โรงพยาบาลมายอเป็นหน่วยหนึ่งที่มีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ TQM/CQI ตามมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPH) และนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติมาประยุกต์ใช้ในการประเมินคุณค่า ผลลัพธ์การพัฒนาการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อศึกษาแนวทางและผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลมายอที่ผ่านมาตามกรอบแนวคิดของเกณฑ์ TQA ทั้ง 6 องค์ประกอบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์สถานการณ์และบรรยากาศการทำงานในองค์กรในกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน 100 คน. นอกจากนี้ยังใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มทีมผู้บริหารทีมการพัฒนาโรงพยาบาลจำนวน 7 คน ตามแนวคำถามที่ได้สร้างขึ้นเพื่อศึกษามุมมองแนวคิด การสนับสนุนการพัฒนา ปัจจัยความสำเร็จและบทเรียนที่สำคัญ ความมุ่งมั่นในการสนับสนุนคุณภาพองค์กร และการวิเคราะห์เอกสารจากแบบประเมินตนเอง ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าสถิติความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา การศึกษาพบว่าการนำองค์กร การมุ่งเน้นผู้ป่วยและลูกค้าอยู่ในเกณฑ์ดี ขณะที่การกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์องค์กร การบริหารคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงดี การจัดการระบบสารสนเทศ การบริหารและพัฒนากำลังคนอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง จุดแข็งของโรงพยาบาลมายอ คือทีมบริหารมีความเข้าใจเป็นอย่างดีในการพัฒนาคุณภาพ ขณะที่บุคลากรอื่นมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและเป้าหมายขององค์กร อีกทั้งการให้ความสำคัญต่อผู้ป่วยและลูกค้า การประสานความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานสามารถทำได้ดี แต่อย่างไรก็ตามยังมีสิ่งต้องพัฒนาปรับปรุงอีกหลายด้าน ได้แก่ ระบบสารสนเทศ การนำพันธกิจไปสู่การปฏิบัติ การพัฒนาแนวทางและมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยในทุกหน่วยงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรth_TH
dc.format.extent279859 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการประเมินผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) กรณีศึกษาโรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานีen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Hospital Quality Improvement in Mayo Public Hospital by Concept of the Thailand Quality Awarden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeIn order to achieve the standard and effectiveness of care and finally to enhance the quality of life of people, strategies to improve the quality of services is an important approach for both public and private health sectors. Mayo Hospital is one of many hospitals that has implemented the TQM/CQI, as recommended by the Hospital Accreditation (HA) standard for a health promotion Hospital. In addition, Mayo Hospital has applied the criteria for the TQA award in order to evaluate the outcome of implementation. The purposes of this study were to describe the strategies and outcomes related to the implementation of quality improvement of services at Mayo Hospital based on the six aspects of the TQA criteria. Both qualitative and quantitative methods were used in this study. A questionnaire was sent to health personnel asked about the working atmosphere and organizational environment. In addition, in order to gain better understanding about the organization’s vision, facilitating and inhibiting factors and lessons learned, in-dept interviews were held with seven administrative staff and document analysis of a self-assessment form was conducted. Content analysis was applied for assessing the qualitative data, while quantitative data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. The results of this study revealed that, based on six aspects of TQA, leaderships and patient-customer focused aspects were at the level of improving, while strategic planning and internal process were at the level of awareness to improving. In addition, the MIS and human resource, development and administration were at the level of “awareness”. The strengths of Mayo Hospital were that the administrative team had good understanding about quality development while the health personnel were involved in determining the directions and goals of the organization. In addition, patient and customer centered care is their priority of the services. The coordination among departments was well developed. However, there were areas that needed improvement, including dissemination of the organizational mission so that it could be transformed into practice, the information system, the development of practice guidelines or standards of patient-centered care in all departments, human resources developments, and collaboration and coordination across departments.en_US
dc.subject.keywordการประเมินผลลัพธ์en_US
dc.subject.keywordการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลen_US
dc.subject.keywordการวิเคราะห์บรรยากาศองค์กรen_US
dc.subject.keywordเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติen_US
dc.subject.keywordQuality Outcomeen_US
dc.subject.keywordEvaluation Hospital Quality Improvementen_US
dc.subject.keywordEnvironmental Analysisen_US
dc.subject.keywordThailand Quality Awarden_US
.custom.citationนิรันดร์ วิชเศรษฐสมิต. "การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) กรณีศึกษาโรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/105">http://hdl.handle.net/11228/105</a>.
.custom.total_download1111
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month22
.custom.downloaded_this_year158
.custom.downloaded_fiscal_year268

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n2 ...
Size: 277.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record