Show simple item record

Current situation of the antimicrobial resistance in Thailand : a review

dc.contributor.authorวัชรี โชคจินดาชัยen_US
dc.contributor.authorWatcharee Chokejindachaien_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:14Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:36Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:14Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.otherhe0112en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1293en_US
dc.description.abstractThe effective control of infectious diseases is seriously threatened by the sustained increase in the number of antimicrobial resistant microorganisms. Once resistance has emerged in a population, it can spread geographically. The problem is particularly severe in developing countries, where patients have inadequate access to or are unable to afford second–line treatments. Because these are typically more expensive, the economic impact of drug resistance in developing countries may be substantial.Antimicrobial resistance is a global challenge, even not a new phenomenon. It is important for governments to ensure that the effectiveness of our current arsenal of anti–infectives is not depleted too rapidly. Many activities have been implemented in attempts to control the spread of antimicrobial resistance in Thailand, but little evidence of widespread success exists nonetheless. The magnitude and the trend of the problem of the antimicrobial resistance in Thailand were the focus of the study. The past and current attempt to tackle and solve problems on the antimicrobial resistance in Thailand was initially mapped. Then the research areas and the strategies to move forward to control the antimicrobial resistance were summarized.At the end, the report suggests a range of efforts that can reorganize incentives and lead to increase changes in how patients, doctors, hospitals, and drug companies regard and use antibiotics. There is a possible role for health insurance systems in employing reimbursement methods that do not encourage overuse of antibiotics. There is an important role for physicians and medical associations to adopt standards that would discourage inappropriate antibiotic use. And there is a clear role for government—to promote careful demonstration projects, including providing incentives, to push hospitals to engage in better infection control and pharmaceutical makers to boost antibiotic research. Just as important, public awareness campaigns are needed to educate parents, doctors, clinics, and patients about the threat of drug resistant infections.en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent295937 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languageengthaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectDrug Resistance, Microbialen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectการดื้อยาของจุลชีพen_US
dc.subjectยาปฏิชีวนะ--การใช้รักษาth_TH
dc.subjectสารต้านการติดเชื้อ--การใช้รักษาth_TH
dc.subjectAnti-Bacterial Agents--Therapeutic Useen_US
dc.subjectAntimicrobialen_US
dc.subjectAntibioticen_US
dc.subjectยาต้านจุลชีพ--การดื้อยาth_TH
dc.titleทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeCurrent situation of the antimicrobial resistance in Thailand : a reviewen_US
dc.description.abstractalternativeอัตราการดื้อยาต้านจุลชีพที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยคุกคามการควบคุมโรคติดเชื้อ เมื่อเชื้อเกิดการดื้อยาขึ้นในกลุ่มประชากรหนึ่ง มันสามารถแพร่ระบาดไปทั่วภูมิภาคได้ ปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพมีความรุนแรงโดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งประชาชนไม่สามารถเข้าถึง หรือไม่สามารถรับภาระราคายาที่เพิ่มสูงขึ้นกว่าการรักษาขั้นพื้นฐานเดิม เพราะการเปลี่ยนยาตามความไวของเชื้อมักต้องใช้ยาที่มีราคาสูงขึ้น ดังนั้นจึงส่งผลกระทบอย่างมากต่อภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นความท้าทายระดับโลก ทั้งไม่ใช่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นปัญหาสำคัญสำหรับรัฐบาลที่จะต้องดำเนินการ เพื่อให้มั่นใจว่ายาต้านจุลชีพที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันไม่สูญเสียความไวในการต้านเชื้อรวดเร็วเกินไป ในประเทศไทยมีการนำโครงการและกิจกรรมมากมายมาใช้เพื่อควบคุมสถานการณ์เชื้อดื้อยา แต่มีหลักฐานของความสำเร็จที่เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย การศึกษานี้เพื่อบอกขนาด และแนวโน้มของปัญหาสถานการณ์เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ความพยายามในอดีตและปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหา รวมทั้งพยายามสรุปองค์ความรู้ที่ยังไม่มีคำตอบ และแนวนโยบายที่พอจะเป็นไปได้ท้ายที่สุด รายงานฉบับนี้พยายามนำเสนอตัวอย่างของแรงจูงใจอันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ผู้ป่วย แพทย์ โรงพยาบาล บริษัทยาได้ตระหนักถึงปัญหา และใช้ยาอย่างเหมาะสม มีความเป็นไปได้ของการใช้นโยบายจำกัดการเบิกค่ารักษาพยาบาล เพื่อลดการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจำเป็น ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการประกันสุขภาพ แพทย์และสมาคมวิชาชีพแพทย์ต่างๆควรยอมรับแนวทางการรักษา ที่ไม่เอื้อต่อการใช้ยาต้านจุลชีพที่ไม่เหมาะสมให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน รัฐบาลควรส่งเสริมโครงการต่างๆอย่างชัดเจน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจ หรือผลักดันโรงพยาบาลต่างๆให้มีการควบคุมการติดเชื้อดีขึ้น และส่งเสริมผู้ผลิตยาให้มีการวิจัยค้นคว้ายาใหม่ๆ การรณรงค์ในภาคประชาชนให้มีส่วนร่วม รับรู้ปัญหาการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ มีส่วนสำคัญที่จะผลักดันให้เกิดการแก้ปัญหานี้en_US
dc.identifier.callnoQV350 W224c 2007en_US
dc.identifier.contactno49ค001en_US
.custom.citationวัชรี โชคจินดาชัย and Watcharee Chokejindachai. "ทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1293">http://hdl.handle.net/11228/1293</a>.
.custom.total_download427
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year6

Fulltext
Icon
Name: he0112.pdf
Size: 330.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record