Show simple item record

The outcome study of the decentralize budgeting system of Nonthaburi provincial public health office

dc.contributor.authorฉัตร เสกสรรค์วิริยะen_US
dc.contributor.authorChat Satsanwiriyaen_US
dc.contributor.authorละเอียด หัสดีen_US
dc.contributor.authorสนองพร ขาวบางen_US
dc.contributor.authorวิลาวัณย์ ประทีปแก้วen_US
dc.contributor.authorประเสิรฐ เสกสรรเจริญen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:46Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:45:43Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:46Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:45:43Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0409en_EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1318en_US
dc.description.abstractการศึกษารูปแบบการบริหารงบประมาณแบบกระจายอำนาจของสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อประเมินสิทธิผลของการบริหารงบประมาณสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับตำบล (คปสอ.) จำนวน 72 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus group) และการวิเคราะห์ข้อมูลเอกสาร Document Analysis) การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ในระยะที่ 1 เป็นการศึกษาในปีงบประมาณ 2540 ระยะที่ 2 เป็นการศึกษาต่อเนื่องมาในปีงบประมาณ 2541 ผลการศึกษาในระยะที่ 1 พบว่า การบริหารงบประมาณสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี ในรูปแบบที่จังหวัดกำหนดขึ้นเองได้ทำให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ ตามนโยบานของกระทรวงและจังหวัดด้วยกลวิธีที่แต่ละอำเภอได้คิดทำขึ้นทำให้เจ้าหน้าที่มีความสนใจและเต็มใจต่อการดำเนินงานมากขึ้นเมื่อพิจารณษโครงการจากความสอดคล้องของว้ตถุประสงค์กับปัญหา ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับกลวิธีและความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ กลวิธี และงบประมาณ พบว่า คะแนนค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาการเขียนโครงการเพื่อเสนอของงบประมาณของแต่ละอำเภอ พบง่ามีทั้งที่ทำร่วมกันเป็นทีมทั้ง คปสอ. และแบบแยกกันทำแล้วนำโครงการมารวมกัน ส่วนผลการศึกษาในระยะที่ 2 นั้นพบว่า รูปแบบการเขียนโครงการที่ดีขึ้นโดยทุกอำเภอมีการพิจารณาปัญหาร่วมคิดร่วมทำเป็นทีมมากขึ้น ลักษณะของโครงการและงบประมาณส่วนใหญ่เป็นด้านการป้องกันโรค โดยมีความเหมาะสมสอดคล้องของโครงการอยู่ในระดับปานกลางเช่นเดียวกับ ระยะที่ 1 เมื่อพิจารณาการดำเนินงานตามโครงการแต่ละ คปสอ. โดยการสุ่มตัวอย่างโครงการแต่ละ คปสอ. จัดทำขึ้น พบว่า โครงการเหล่านี้ส่วนใหญ่ คปสอ. จัดทำขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ของตนเองลักษณะการกำหนดกิจกรรมตามโครงการเป็นความคิดของทีม คปสอ. เอง เมื่อติดตามผลการดำเนินงานเลือกโครงการที่คิดว่าดีที่สุดของแต่ละแห่งมาดูแล้ว พบว่า ทุกแห่งมีการดำงานตามกิจกรรมไว้ในโครงการ เมื่อแต่ละคปสอ. ได้คัดเลือกโครงการที่ดีที่สุดของแต่ละแห่งมาดูแล้ว พบว่าโครงการเหล่านี้มีข้อเด่นในการกำหนดกิจกรรมตามศักยภาพของบุคคลากร และมีลักษณะการทำงานเป็นทีมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent6233160 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectOrganization and Administration -- Public Health Administrationen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.titleโครงการศึกษารูปแบบการบริหารงบประมาณแบบกระจายอำนาจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรีen_US
dc.title.alternativeThe outcome study of the decentralize budgeting system of Nonthaburi provincial public health officeen_US
dc.description.abstractalternativeThe decentralize budgeting system of Nonthaburi Provincial Public Health Office The effectiveness study of Nonthaburi Provincial Public Health Office (NPPHO) budget allocation was carried out using both qualitative and quantitative ทmethod. The qualitative study was done by indepth interview and focus group discussion with 72staffs from retrospective document analysis The study consisted of two parts : the first part was carried on during 1997 fiscal year , the second part carries on during 1998 fiscal year. The outcome of the first part show that the strategy of NPPHO, which allowed multi health care worker to participate in project developing process, increased both work morale and compliance. The majority of the projects were about health promotion and human resource development. The evaluation about the appropriateness of the project by the relevant between the objectives and existing health problems, the objective and strategies used, the objective strategies and the budget show that the mean was about the middle. The project development was done by whole district health alliance team or separately done by the hospital and district health office the merge the project together to make the district major plan. The outcome of the second part reveal that appropriateness of the projects improve and there were more health team approach to solve district health problems, and the activities of the project was initiate by the DPHC personal. The study also reveal that every district followed the activities plan of each project. The indepth study of best project of each district show that each of best projects had strong points about activities initiation that correlate with potential of the personal and the health care team.en_US
dc.identifier.callnoWA540 ฉ214ค 2541en_US
dc.subject.keywordNonthaburi Provincial Public Health Officeen_US
dc.subject.keywordการบริหารงบประมาณen_US
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจen_US
dc.subject.keywordการวิเคราะห์ข้อมูลen_US
dc.subject.keywordสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรีen_US
.custom.citationฉัตร เสกสรรค์วิริยะ, Chat Satsanwiriya, ละเอียด หัสดี, สนองพร ขาวบาง, วิลาวัณย์ ประทีปแก้ว and ประเสิรฐ เสกสรรเจริญ. "โครงการศึกษารูปแบบการบริหารงบประมาณแบบกระจายอำนาจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1318">http://hdl.handle.net/11228/1318</a>.
.custom.total_download36
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year7

Fulltext
Icon
Name: hs0409.PDF
Size: 6.207Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record