Show simple item record

Unmet need for drug therapy in hospital-visited patients

dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorChulaporn Limwattananonen_US
dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:16Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:44:36Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:16Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:44:36Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs0987en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1394en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ปัญหาการไม่ได้รับยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการศึกษาตั้งแต่ การสัมภาษณ์ความคิดเห็นของแพทย์ การสำรวจนโยบายโรงพยาบาล การวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ของโรงพยาบาล การประเมินผู้ป่วยเป็นรายบุคคลโดยแพทย์และการทบทวนเวชระเบียน ผลจากการศึกษา พบว่า ปัญหาการไม่ได้รับยาในความคิดเห็นของแพทย์ผู้สั่งใช้ยา มักเกิดกับยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ บัญชียาของโรงพยาบาลหลายแห่งไม่มียาดังกล่าวหรือมีการจำกัดการสั่งใช้ซึ่งเป็นปัจจัยเชิงบริบทที่สำคัญในการไม่ได้รับยาของผู้ป่วย สำหรับยาผู้ป่วยนอก 10 ชนิดจากการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า ผู้ป่วยรายได้น้อยมีโอกาสและความต่อเนื่องของการได้รับยาที่ศึกษาในสัดส่วนที่ต่ำกว่าผู้ที่ใช้สิทธิสวัสดิการข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจซึ่งป่วยด้วยโรคเดียวกันหรือใช้ยาในกลุ่มข้อบ่งใช้เดียวกัน ความเหลื่อมล้ำดังกล่าวมีขนาดที่แตกต่างกันตามประเภทของยาและโรงพยาบาลที่ศึกษา งานวิจัยนี้ยืนยันผลเสียของการไม่ได้รับการรักษาที่สำคัญบางอย่าง พบว่า ผู้ป่วยรายได้น้อยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายซึ่งเข้าถึงบริการบำบัดทดแทนไตในสัดส่วนที่น้อยมีอัตราการรอดชีวิตที่ต่ำกว่าผู้ป่วยสวัสดิการข้าราชการที่เข้าถึงบริการสุขภาพดังกล่าวได้ดีกว่า นอกจากนี้ การไม่ได้รับยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมใน acute phase ทำให้ความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรค melioidosis ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อที่มีอัตราตายสูง การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายให้มีการกำหนดชุดข้อมูลมาตรฐานของการสั่งจ่ายยาและมาตรฐานรหัสยาซึ่งจะช่วยในการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างสถานบริการสุขภาพในระดับประเทศ โดยหน่วยงานการคลังสุขภาพหลักทั้ง 3 แผน ได้แก่ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ประกันสังคมและประกันสุขภาพถ้วนหน้า ควรกำหนดมาตรฐานของข้อมูลร่วมกันเพื่อให้ได้ชุดข้อมูลมาตรฐานกลาง ที่ใช้ได้กับแผนประกันสุขภาพทุกๆ แผน ก่อนนำข้อมูลมาตรฐานดังกล่าวมาใช้ ควรมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพการใช้ยาที่สอดคล้องกับความรู้ใหม่ที่ยอมรับทางวิชาการ การกำหนดมาตรฐานคุณภาพบริการนี้ เพื่อให้ได้ความเห็นพ้องกันทั้งกลุ่มนักวิชาการ ผู้ให้บริการและองค์กรหลักประกันสุขภาพว่า จะใช้ตัวแปรใดในชุดข้อมูลมาตรฐานและจะประเมินคุณภาพของบริการใด ด้วยเงื่อนไขอะไร ในด้านการติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ การวิจัยนี้ได้พิสูจน์ว่าการประเมินการไม่ได้รับยา มีความเป็นได้สูงที่จะใช้ติดตามผลกระทบของนโยบายต่อพฤติกรรมการให้บริการในโรคที่การให้การรักษาด้วยยา มีประสิทธิภาพในการลดอัตราการเจ็บป่วย หรือลดอัตราตาย หรือมีผลเพิ่มคุณภาพชีวิต นโยบายการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพเป็นสิ่งที่สามารถประเมินได้ในอนาคต นอกจากข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในทั้ง 4 ด้านดังกล่าวแล้ว การวิจัยนี้เสนอให้มีการขยายผลการศึกษาและฐานข้อมูลด้านการใช้ยาไปสู่โรงพยาบาลอื่นๆ ในลักษณะเครือข่าย เพื่อสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปพัฒนาระบบการให้บริการสุขภาพในเครือข่ายที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2445585 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPatienten_US
dc.subjectDrug therapyen_US
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพen_US
dc.subjectยา--ปัญหาen_US
dc.subjectผู้ป่วย--การรักษาด้วยยาen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการไม่ได้รับยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาลen_US
dc.title.alternativeUnmet need for drug therapy in hospital-visited patientsen_US
dc.description.abstractalternativeUnmet Need for Drug Therapy in Hospital-Visited Patients This research aimed to analyze the issue of unmet need for drug therapy in hospital-visited patients. Methods used in the study varied from physician interview, hospital policy survey, analysis of hospital databases, individual patient evaluation, to medical chart review. Based on opinions of prescribing physicians, the unmet drug need problem tended to focus on expensive or newly marketed drug products, which were considered the target group in this study. Results from the hospital survey showed that some of the study drugs were not covered in drug formularies of several hospitals; whereas some were listed in restricted formularies. In ten therapeutic drug classes, hospital database analysis revealed that out-patients under Low-Income Scheme were less likely to receive and to continue receiving the drugs as compared with those covered by Civil Servant Medical Benefit Scheme. Disparity in the unmet drug need across patient payment schemes varied widely with respect to the drug classes and study hospitals. This study confirmed adverse consequences due to inaccessibility to certain therapeutic modalities. A case study on patients with end stage renal disease found that accessibility to renal replacement therapy by the Low-Income patients was much lower than in the Civil Servant Medical Benefit recipients, thus the former group faced a higher mortality rate. Inaccessibility to appropriate choice of antibiotics would increase risk of death due to the fatal infectious disease like melioidosis in another case study. Four major policy recommendations were generated from this study. First, standard data sets for drug prescribing and dispensing as well as drug coding harmonization should be developed. All three health care financing agencies: Civil Servant Medical Benefit Scheme, Social Security Scheme, and Universal Health Care Coverage Scheme should set common structures of electronic files for recording drug utilization data. Second, prior to use of the stored information, a set of criteria for drug use quality based on up-to-date medical knowledge should be established. Information on the quality criteria could lead to an agreement among medical communities on variables needed to be specified in the standard data sets and on the way to measure quality of care. Third, for the issue of health equity monitoring, this study showed high feasibility to assess the extent to which a need for drug therapy was unmet, especially for the drug products that were proven in their effectiveness and efficiency. Lastly, it is possible to evaluate a policy aiming to increase health care productivity in the future. The approach used in this study should be disseminated through hospital networks in order that results generated from analyses of drug use databases can be used for quality of care development.en_US
dc.identifier.callnoQV55 จ678ก 2545en_US
dc.identifier.contactno44ค054en_US
.custom.citationจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, Chulaporn Limwattananon, สุพล ลิมวัฒนานนท์ and ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย. "การไม่ได้รับยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1394">http://hdl.handle.net/11228/1394</a>.
.custom.total_download171
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs0987.pdf
Size: 1.053Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record