Show simple item record

Health information radio and television media for the public

dc.contributor.authorสุภิญญา กลางณรงค์th_TH
dc.contributor.authorSupinya Khlangnarongen_US
dc.contributor.authorโสวรรณ คงสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorพวงพนา คุณวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorSowan Khongsavaden_US
dc.contributor.authorPhuangpana Khunwaten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:06Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:06Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:28Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1201en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1508en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: รายงานการวิจัยสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน์เพื่อข่าวสุขภาพเพื่อประชาชนth_TH
dc.description.abstractรายงานการวิจัยเรื่อง สื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อข่าวสารสุขภาพเพื่อประชาชน จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจรายวิทยุและรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวเนื่องการสุขภาพของคนไทย โดยเน้นที่รายการเพื่อสุขภาพโดยตรง ทั้งนี้เริ่มจากการสำรวจผังรายการโดยภาพรวม เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนของเนื้อหา จากนั้นจึงเลือกสรรรายการในกลุ่มตัวอย่างเพื่อศึกษาเจาะลึกถึงรายละเอียดของกระบวนการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์เพื่อสุขภาพ โดยเน้นการสอบถามปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากผู้ผลิตรายการ หรือที่คณะวิจัยใช้คำเรียกว่า “นักสื่อสารสุขภาพ” เพื่อให้การวิเคราะห์รอบด้านขึ้น คณะวิจัยได้อ้างอิงข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างและระบบของสื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ จากนั้นได้สัมภาษณ์ผู้ที่กำหนดทิศทางการบริหารของสถานี ทั้งสถานีของภาครัฐและสถานีของเอกชน เพื่อสะท้อนให้ภาพนโยบายการผลิตรายการเพื่อสุขภาพ ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้ได้ทำการสำรวจผังรายการ ตรวจสอบโครงสร้างสื่อ สำรวจรายการเพื่อสุขภาพ และสัมภาษณ์จากนักสื่อสารเพื่อสุขภาพ จนนำมาซึ่งผลการวิจัยที่วิเคราะห์เชื่อมโยง เพื่อให้ภาพรวมของการนำเสนอรายการวิทยุ รายการโทรทัศน์เพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะปัญหาอุปสรรค์และข้อเสนอแนะที่จะนำไปสู่การวิจัยต่อเนื่อง หรือพัฒนาไปเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อเสนอภาครัฐและสังคมต่อไป เช่น การอำนวยความสะดวกเรื่องศูนย์ข้อมูลสุขภาพเพื่อให้นักสื่อสารสุขภาพซึ่งส่วนใหญ่มีพื้นฐานความรู้ทางด้านสื่อสารมวลชนมากกว่าด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้น ถ้ามีช่องทางในการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักสื่อสารข้อมูลสุขภาพกับหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ทำงานด้านสุขภาพโดยตรงจะเป็นประโยชน์มากขึ้นต่อผู้ผลิตและนำเสนอรายการ ข้อเสนอแนะอีกประการสำคัญคือ การปรับปรุงนโยบายของรัฐในเรื่องการสื่อสารมวลชนเพื่อข้อมูลข่าวสารเพื่อสุขภาพในการนำไปสู่การนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างเต็มที่ ทั้งนี้รัฐควรมีนโยบายสนับสนุนผู้ผลิตรายการเพื่อสุขภาพ รวมทั้งมีสื่อบริการสาธารณะหรือสื่อชุมชนที่เน้นบริการประชาชนไม่แสวงหากำไร เพื่อให้ผู้ผลิตสามารถสร้างสรรค์รายการได้อย่างเต็มที่ และประชาชนได้รับประโยชน์ เพราะปัญหาที่ผู้ผลิตสื่อเผชิญอยู่ในปัจจุบันคือ ภาวการณ์พึ่งพิงสินค้าและบริการอันนำซึ่งการโฆษณาแฝง ที่ส่งผลต่อการกำหนดเนื้อหารายการ การให้ความสำคัญกับรายการเพื่อบริการสาธารณะ ไม่แสวงหากำไร และสนับสนุนผู้ผลิตสื่อขนาดกลางและขนาดเล็กที่มีความคิดสร้างสรรค์ได้มีโอกาสเข้าถึงสื่อและมีผู้สนับสนุนทำให้เกิด “นักสื่อสารข้อมูลสุขภาพ” ที่ขยายทั้งปริมาณและคุณภาพเพิ่มมากขึ้น ในการสื่อสารข้อมูล ความรู้ ความจริง ที่ถึงพร้อมทั้งเนื้อหาสาระและสีสันชวนติดตามไปสู่สาธารณชนมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบันth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.subjectHealth Communication Systemen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectระบบสื่อสารสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectข่าวสารสาธารณสุขth_TH
dc.titleสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน์เพื่อข่าวสุขภาพเพื่อประชาชนth_TH
dc.title.alternativeHealth information radio and television media for the publicen_US
dc.description.abstractalternativeThe research “Health Information Radio and Television Media for the Public” is conducted to monitor and analyse radio and television programmes that have health elements for Thais in them. The emphasis is on the Heath programme. The study was started by a survey of the whole layout of the station to analyse proportion of its content. After that sample programmes are picked up to be studied in details about the process of producing a health programme for radio/television. The study focuses on asking producers, in this research we would like to call “Health Communicator”, about their challenges and recommendations. To make the analysis more comprehensive, the team refers to base line data about the structure of radio and television media in Thailand and followed by interviewing managers who direct and manage the stations which are both owned by government and private, in order to illustrate the policy towards producing a health programme. In summary, the research will study the lay-out; study the structure of the media and health programmes and interview health communicators. The outcome will be a linked analysis that shows the whole picture of the broadcasting of health programmes through radio and televisions, particularly about challenges and recommendations that will lead to more studies or policy proposals to the state and the public such as the facilitation of health database and information for health communicators whose majority come from journalism not health background. The open channel that health communicators can access and exchange information with health agencies in both state and private sectors will give a great benefit to producers of these health programmes. Other important recommendations are Change of the government policy on mass communication of health information that will lead to full dissemination of health information to the public. The state should set a policy of supporting producers of health policy and establishing public service media or community media that focus on free service to the public so producers can have freedom in creating programmes while the public gain benefit. In the current situation, media producers face a problem of depending on income from sponsors that lead to hidden promotion of goods and service which control contents of the programme.By giving priority to non-profit programmes made for public service and supporting medium and small producers in gaining an easier access and sponsor will create better and more “health communicators” who will communicate information, knowledge, fact in lively format to the public than the present environment.en_US
dc.identifier.callnoWA590 ส839ส 2548en_US
dc.identifier.contactno47ค014en_US
dc.subject.keywordRadio Mediaen_US
dc.subject.keywordTelevision Mediaen_US
dc.subject.keywordHealth Informationen_US
dc.subject.keywordHealth Communicatoren_US
dc.subject.keywordสื่อวิทยุen_US
dc.subject.keywordสื่อโทรทัศน์en_US
dc.subject.keywordนักสื่อสารสุขภาพen_US
.custom.citationสุภิญญา กลางณรงค์, Supinya Khlangnarong, โสวรรณ คงสวัสดิ์, พวงพนา คุณวัฒน์, Sowan Khongsavad and Phuangpana Khunwat. "สื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน์เพื่อข่าวสุขภาพเพื่อประชาชน." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1508">http://hdl.handle.net/11228/1508</a>.
.custom.total_download144
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs1201.pdf
Size: 2.445Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record