แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้

dc.contributor.authorสาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรืองth_TH
dc.contributor.authorSawittree Limchaiarunruangen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:15Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:20:57Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:15Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:20:57Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0867en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1532en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยการพัฒนาระบบทางเลือกเพื่อส่งเสริมสุขภาพของสตรีวัยกลางคน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนในชุมชนเขตเมืองและชนบทจังหวัดสงขลา ผู้ให้ข้อมูลเป็นสตรีวัยกลางคน อายุ 40-59 ปี ที่อยู่อาศัยในเขตเมือง ที่นับถือศาสนาพุทธ จำนวน 17 ราย เป็นไทยมุสลิม จำนวน 15 ราย ในเขตชนบท เป็นไทยพุทธจำนวน 15 ราย รวม 62 ราย เป็นผู้ให้บริการคือ หมอพื้นบ้านและสตรีที่กลุ่มสตรีวัยกลางคนอ้างถึง จำนวน 4 ราย การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม ระหว่างมิถุนายน-ธันวาคม 2542 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลสรุปได้ดังนี้ สตรีวัยกลางคนอายุ 40-59 ปี ที่อาศัยในเขตเมือง กลุ่มนับถือศาสนาอิสลาม ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ ประกอบอาชีพค้าขายอาหาร ส่วนสตรีไทยพุทธมีความหลากหลายในการประกอบอาชีพ อาทิ ทำสวนยาง แม่บ้าน รับจ้าง ค้าขาย สตรีที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยาง เมื่อให้สตรีประเมินภาวะสุขภาพตนเอง พบว่า ประมาณ 2 ใน 3 ของสตรีทั้งหมดตอบว่าตนเองมีสุขภาพแข็งแรงดี แต่ไม่แข็งแรงเหมือนตอนสาวๆ ทั้งนี้ โดยเปรียบเทียบกับคนวัยเดียวกันด้านความสามารถในการทำงานได้โดยไม่เจ็บไม่ไข้ การส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคน พิจารณาได้เป็น 3 แนวทาง ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพที่จัดขึ้นโดยภาครัฐและเอกชนที่เป็นระบบสุขภาพแผนใหม่ แผนเดิม หรือพื้นบ้านและตามแบบของประชาชน ซึ่งมีความหลากหลายและบางครั้งมีการผสมผสาน การส่งเสริมสุขภาพแบบประชาชน สตรีวัยกลางคนดูแลส่งเสริมสุขภาพของตนตามการรับรู้ที่ได้จากความรู้ทางการแพทย์แผนใหม่และแบบพื้นบ้านผสมผสานกันอย่างลงตัวตามสถานการณ์ของชีวิตและชุมชน อย่างไรก็ตาม สตรีกลุ่มนี้เกือบทั้งหมดมีความคิดเห็นและความต้องการให้มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพตั้งอยู่ในชุมชนเป็นสัดเป็นส่วนและถาวรที่จะเข้าร่วมกิจกรรมได้สะดวกข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกำหนดนโยบาย ฟื้นฟูการแพทย์แผนไทยหรือแบบพื้นบ้าน กำหนดมาตรการ การนำและให้การดูแลส่งเสริมสุขภาพแบบพื้นบ้านในชุมชนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพขยายแหล่งความรู้ ได้แก่ โรงเรียนแพทย์พื้นบ้าน หรือบรรจุความรู้เหล่านี้ลงในหลักสูตรสำหรับนักเรียน นักศึกษาระดับต่างๆth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.format.extent2060618 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสุขภาพทางเลือกth_TH
dc.subjectสตรีวัยกลางคนth_TH
dc.subjectสตรีวัยกลางคน--ภาคใต้th_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeTraditional Health System and Health System for Middle Aged Women in Southern Societyen_US
dc.identifier.callnoWB50 ส687ร 2543en_US
dc.identifier.contactno42ค020en_US
dc.subject.keywordการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordการวิจัยเชิงคุณภาพth_TH
.custom.citationสาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง and Sawittree Limchaiarunruang. "ระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1532">http://hdl.handle.net/11228/1532</a>.
.custom.total_download205
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0867.PDF
ขนาด: 2.031Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย