Show simple item record

The effectiveness of structural shared care for patients with epilepsy in Nakhonratchasima province

dc.contributor.authorธนินทร์ อัศววิเชียรจินดาth_TH
dc.contributor.authorThanin Asawawichienchindaen_US
dc.contributor.authorธนะพงศ์ จินวงษ์th_TH
dc.contributor.authorนวลฉวี เพิ่มทองชูชัยth_TH
dc.contributor.authorอรอนงค์ วงศ์จิรวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorเฉลิมศรี สิงห์ทิพย์พันธุ์th_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:48Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:48Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:28Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs0903en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1610en_US
dc.description.abstractประสิทธิภาพของระบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ (Structural Shared Care Scheme) สำหรับผู้ป่วยโรคลมชักในจังหวัดนครราชสีมา มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการรักษาในด้านการควบคุมชักและการติดตามการรักษาของผู้ป่วยระหว่างการรักษาในปัจจุบันกับการรักษาอย่างเป็นระบบที่มีการให้คำแนะนำกับแพทย์ผู้รักษาและมีจดหมายเตือนนัดสำหรับผู้ป่วย โดยเริ่มดำเนินการศึกษาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542 ถึงกันยายน พ.ศ. 2544 คัดเลือกโรงพยาบาลชุมชน 2 แห่งเพื่อเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มสอดแทรก มีการสร้างแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคลมชักสำหรับแพทย์ และทำการศึกษา 1 ปี โดยมีการบันทึกการรักษาของผู้ป่วยทุกครั้งที่มารับการรักษาซึ่งจะถูกส่งกลับมายังผู้วิจัยเพื่อทำการขึ้นทะเบียนและตรวจสอบการรักษาสำหรับโรงพยาบาลที่มีการสอดแทรก และจะมีคำแนะนำส่งกลับไปยังแพทย์ผู้รักษา และเมื่อผู้ป่วยจะถึงกำหนดนัดก่อน 2 สัปดาห์ก็จะมีการออกจดหมายเตือนนัดส่งไปยังผู้ป่วย เมื่อครบ 1 ปีก็เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้บันทึก ข้อมูลจากประวัติผู้ป่วยนอกรวมทั้งส่งจดหมายถามความถี่ของการชักและสถานะความเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาลเพื่อวิเคราะห์โดยใช้ SPSS version ผลการศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยในกลุ่มควบคุมทั้งสิ้น 45 ราย และกลุ่มสอดแทรก 55 ราย ลักษณะโดยทั่วไป เศรษฐฐานะ และอาการชักของผู้ป่วยก่อนการรักษาไม่มีความแตกต่างกัน นอกจากอายุ จำนวนผู้ป่วยปัญญาอ่อน และชนิดของการชัก (p-value < 0.05, 0.05 และ 0.01 ตามลำดับ) สำหรับในกลุ่มควบคุมมีผู้ป่วยที่ไม่ชักเลยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 46.7 (21 ราย) ส่วนในกลุ่มสอดแทรก ร้อยละ 56.4 (31 ราย) หลังการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยในกลุ่มสอดแทรกที่ไม่มีอาการชักเลย ในช่วง 3 เดือนสุดท้ายเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 56.4 เป็นร้อยละ 72.4 (40 ราย) ซึ่งใกล้เคียงกับในกลุ่มควบคุม (ร้อยละ 46.7 เป็นร้อยละ 60) และความถี่ของการชักหลังรักษาก็ไม่มีความแตกต่างกันระหว่าง 2 กลุ่ม สำหรับการติดตามการรักษา ปัจจัยที่อาจจะมีผลต่อการติดตามการรักษาระหว่าง 2 กลุ่มก็ไม่มีความแตกต่างกันทั้ง Univariate and Multivariate Analysis (Cox proportional hazards regression) และพบว่าผู้ป่วยในกลุ่มควบคุมมีระยะเวลาที่ติดตามการรักษาเฉลี่ย 9.61 เดือน และมีผู้ป่วยที่ติดตามการรักษาสม่ำเสมอ 29 ราย (ร้อยละ 64.4) ส่วนในกลุ่มสอดแทรกมีระยะเวลาที่ติดตามการรักษาเฉลี่ย 10.31 เดือน และมีผู้ป่วยที่ติดตามการรักษาสม่ำเสมอ 37 ราย (ร้อยละ 67.3) ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านระยะเวลาที่ติดตามและความสม่ำเสมอ (p-value = 0.87 และ 0.86) และเมื่อแจกแจงตาม Life table ของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มและเปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่ม โดย Log rank statistic ก็พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน (p-value = 0.46) ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ เนื่องจากการศึกษานี้เป็นการศึกษาเพียง 2 โรงพยาบาลที่มีตัวอย่างผู้ป่วยไม่มากและสิ่งสอดแทรกก็ไม่มากพอที่จะทำให้เกิดผล ควรจะต้องแก้ทั้งระบบth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent552180 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectNakhonratchasimaen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.subjectนครราชสีมา -- โรคลมชักen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleประสิทธิภาพของระบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ structural shared care scheme สำหรับผู้ป่วยโรคลมชักในจังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of structural shared care for patients with epilepsy in Nakhonratchasima provinceen_US
dc.description.abstractalternativeThe effectiveness of Structural Shared Care for patients with epilepsyin Nakhonratchasima ProvinceThis study aims to evaluate outcomes of treatment in terms of patient with seizure free and with regular follow-up between the conventional care and shared care with specialist's advice given to GP and letter reminder given to the patientsMaterial and Method: The study was conducted between June 1999 and September 2001. Two community hospitals were chosen: one for control and the other for intervention group. Before the beginning of the study, guideline of management for GP was created between GP and specialist. All patients with informed consent were treated and asked to fill data in the registration and follow-up form. All the data was sent to the investigator to register and audit the treatment only for intervention group. Advice (if any) would be sent to the GP and the patients would be received the letter reminder for the next coming schedule appointment. After one-year study, all data recorded in the forms and in the OPD card would be gathered for analysis with SPSS version 8. Some information not presented both in the forms and the OPD card would ask to the patients by letter. Results: The number of patients in control group and intervention group was 45 and 55, respectively. All each patient's characteristics between two groups was not different but patient's age, number of mentally retard patients and type of seizure (p-value < 0.05, 0.05 and 0.01, respectively). At the beginning of the study, patients with seizure free in the previous 3 month in control group were 46.7% (21 cases) and 56.4 % (31 cases) in intervention group. After the study, this figure has an increase to 72.7 in intervention group and 60% in control group. For follow-up analysis, the factors which might influence patient’s regular follow-up were not different between two groups including Univariate and Multivariate Analysis (Cox proportional hazards regression). There was no statistical difference in an average of the duration of follow-up (mean in control group = 9.61 months; in intervention group = 10.31 months) and in the proportion of patients with regular follow-up (64.4% in control and 67.3% in intervention) (p-value = 0.87 and 0.86, respectively). However, for survival analysis, no difference in proportion of patient with regular follow-up between two groups (p = 0.46, Log rank statistic). Limitation and suggestion: Too small samples and few interventions might be the reason for no difference between two groups. The system should be corrected as a whole.en_US
dc.identifier.callnoWL385 ธ264ร 2545en_US
dc.identifier.contactno42ค043en_US
dc.subject.keywordShared careen_US
dc.subject.keywordPatientsen_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยen_US
.custom.citationธนินทร์ อัศววิเชียรจินดา, Thanin Asawawichienchinda, ธนะพงศ์ จินวงษ์, นวลฉวี เพิ่มทองชูชัย, อรอนงค์ วงศ์จิรวัฒน์ and เฉลิมศรี สิงห์ทิพย์พันธุ์. "ประสิทธิภาพของระบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ structural shared care scheme สำหรับผู้ป่วยโรคลมชักในจังหวัดนครราชสีมา." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1610">http://hdl.handle.net/11228/1610</a>.
.custom.total_download31
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs0903.pdf
Size: 601.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record