Show simple item record

Research and Development Project on Quality Improvement of Health Promotion in Primary Care Unit

dc.contributor.authorสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนen_US
dc.contributor.authorInstitute of Community Based Health Care Research and Developmenten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:50Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:38:41Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:50Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:38:41Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1618en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพ และความสามารถการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิให้เป็นการดำเนินงานที่มีคุณภาพ ผ่านกลไกลการสนับสนุนและพัฒนาการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วย กลไกเครือข่ายการพัฒนา การจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสนับสนุนให้เกิดชุมชนปฏิบัติการในการพัฒนาโครงการหรือแผนงานในการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ รวมทั้งกลไกสนับสนุน – กระตุ้น – หล่อเลี้ยงการพัฒนา โดยพี่เลี้ยง/แกนนำซึ่งกลไกเชิงวิชาการทั้งระดับภาคและระดับพื้นที่ การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ดำเนินการในพื้นที่ปฏิบัติการ ซึ่งเป็นเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ทั้งสิ้น 27 เครือข่าย (อำเภอ) กระจายอยู่ใน 4 ภาค 17 จังหวัด โดยกรอบเนื้อหาของการพัฒนาครอบคลุม ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพและการเจ็บป่วยเรื้อรัง การพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน การพัฒนาบริการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยบริการให้เป็นบริการที่มีคุณภาพ มีความต่อเนื่องในการบริการการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแพทย์พื้นบ้านในการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิผลการศึกษาพบว่า กลไกสนับสนุนการพัฒนาดังกล่าวสามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายให้มีคุณภาพได้ โดยเริ่มจากการพัฒนาแนวคิด–มุมมอง ต่อการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากร การพัฒนาแบบแผนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยบริการซึ่งครอบคลุมการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับตำบล ครอบครัว และชุมชนตามแนวคิด “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” มากกว่าการดำเนินงานที่มีลักษณะ “กิจกรรม (สร้างเสริมสุขภาพ) เป็นศูนย์กลาง” นอกจากนี้ยังพบว่าเงื่อนไขสำคัญของการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพคือการปรับแบบแผนการทำงานของหน่วยบริการให้มีลักษณะเป็นการ “ประสานและการจัดการ (Co-Ordinate)” มากกว่าเป็นการ “ให้บริการ (Provide)” ทางสุขภาพเพียงอย่างเดียวสำหรับข้อเสนอเพื่อให้กระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนามีความต่อเนื่อง คือ การพัฒนากลไกการประสารและการจัดการให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างภาระงานประจำ (ซึ่งเน้นการทำงานตามกิจกรรมบริการด้านสุขภาพ) ซึ่งมีฐานะภาระงาน (KPI) ของหน่วยงานกำกับ กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพซึ่งมีลักษณะเป็นการ “พัฒนาต่อเนื่องระยะยาว” ทั้งนี้อาจเริ่มต้นที่สร้างการยอมรับและการสนับสนุนของหน่วยงานที่เหนือกว่า ซึ่งพบว่าเป็นกระบวนการเสริมสร้างกำลังใจสำหรับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่ดีนอกจากนี้ผลจากการทำงานยังพบว่า กระบวนการเรียนรู้ที่มีลักษณะเป็นการเรียนรู้ที่มีลักษณะเปิดพื้นที่ให้โอกาสเจ้าหน้าที่ สามารถพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ด้วยตนเอง (กำหนดเนื้อหาและวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง) และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างอิสระ เป็นกระบวนการกระตุ้นและพัฒนาการเรียนรู้ของคนทำงานที่มีประสิทธิภาพen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Systems Promotionen_US
dc.subjectHealth Systems Promotion Organizationen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectองค์กรส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleโครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิen_US
dc.title.alternativeResearch and Development Project on Quality Improvement of Health Promotion in Primary Care Uniten_US
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ส181ค 2551en_US
dc.identifier.contactno49ค013en_US
dc.subject.keywordหน่วยบริการสุขภาพen_US
.custom.citationสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน and Institute of Community Based Health Care Research and Development. "โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1618">http://hdl.handle.net/11228/1618</a>.
.custom.total_download266
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year10

Fulltext
Icon
Name: hs1353.pdf
Size: 810.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record