Show simple item record

Operating costs of health centers in Samut Sakhon, fiscal year 1999

dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์en_US
dc.contributor.authorธีรธัช กันตามระen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.coverage.spatialสมุทรสาครen_US
dc.date.accessioned2008-09-27T11:23:02Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:53:48Z
dc.date.available2008-09-27T11:23:02Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:53:48Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.citationวารสารนโยบายและแผนสาธารณสุข. 4,1-2(2544) : 5-23en_US
dc.identifier.otherDMJ17en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/174en_US
dc.description.abstractจังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดขนาดเล็กในภาคกลางมี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอบ้านแพ้ว และอำเภอกระทุ่มแบน โรงพยาบาลชุมชนบ้านแพ้วจะเป็นโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐแห่งแรกทีออกตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ.2542 ซึ่งจะเปลี่ยนวิธีการงบประมาณจากแบบกิจกรรมโครงการไปเป็นแบบเหมาจ่าย และจะมีผลกระทบต่อระบบการคลังของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสถานีอนามัย และต้นทุนต่อหน่วยบริการประเภทต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการการเงินของทั้งโรงพยาบาลบ้านแพ้ว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย วิธีการศึกษา การศึกษานี้ศึกษาเฉพาะต้นทุนดำเนินการในปีงบประมาณ2542 โดยการสำรวจสัดส่วนการใช้เวลาสำหรับกิจกรรมต่างๆ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในสถานีอนามัยทุกแห่ง ต้นทุนค่าวัสดุ เก็บข้อมูลจริงที่ใช้สำหรับกิจกรรมต่างๆ ต้นทุนของกิจกรรมบริหารและรายงานกระจายมาให้กิจกรรมบริการ โดยวิธีกระจายตรง(Direct allocation) ผลการศึกษาพบว่า ต้นทนการดำเนินการของสถานีอนามัยในจังหวัดสมุทรสาครเฉลี่ย 120 บาทต่อหัวประชากรต่อปี ประกอบด้วยต้นทุนของสถานีอนามัย 110 บาทต่อคนต่อปี และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 10 บาทต่อคนต่อปี ต้นทุนการดำเนินการเฉลี่ยต่อสถานีอนามัยเป็น 834,136 บาทต่อปี ประกอบด้วยค่าแรงร้อยละ 56 และค่าวัชดุและเวชภัณฑ์ ร้อยละ44 สถานีอนามัยมีเจ้าหน้าที่เฉลี่ย 4.2 คนต่อแห่ง จัดสรรเวลาให้กลับงานรักษาพยาบาลร้อยละ 22 งานบริหารและรายงานร้อยละ 27 งานสุขภาพสุขภาพทุกกลุ่มอายุร้อยละ 18 และงานในชุมชนประมาณร้อยละ 30 งานรักษาพยาบาลมีต้นทุนร้อยละ 35 ของต้นทุนทั้งหมด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นค่าวัสดุและเวชภัณฑ์ ต้นทุนค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ย 59 บาทต่อครั้ง (พิสัย 53-65) และต้นทุนต่อหน่วยงานส่งเสริมสุขภาพวัยแม่และเด็กเฉลี่ยเป็น 100 บาทต่อครั้ง (พิสัย 88-120) เมื่อรวมต้นทุนของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอด้วยจะมีต้นทุนเพิ่มอีกประมาณร้อยละ 9 จำนวนเจ้าหน้าที่ต่อสถานีอนามัย ขนาดของรายจ่ายด้านแรงงาน และผลิตภาพ(Productivity) มีอิทธิพลต่อต้นทุนต่อหน่วยของสถานีอนามัย ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วยเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสม การศึกษานี้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนว่า โรงพยาบาลจะซื้อบริการจากสถานีอนามัยในอัตราเท่าไรจึงจะสะท้อนต้นทุนของสถานีอนามัย โรงพยาบาลอาจจะมีวิธีการต่างๆ เช่น จ่ายให้สถานีอนามัยเป็นอัตราเหมาจ่ายต่อหัวประชากรตามจำนวนประชากรในความรับผิดชอบ ต้นทุนรวมตามกิจกรรม หรือต้นทุนแต่ละกิจกรรมเป็นต้นen_US
dc.format.extent403539 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectสถานีอนามัยen_US
dc.titleต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัย ในจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2542en_US
dc.title.alternativeOperating costs of health centers in Samut Sakhon, fiscal year 1999en_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordต้นทุนen_US
dc.subject.keywordดำเนินการen_US
.custom.citationศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, ธีรธัช กันตามระ and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัย ในจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2542." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/174">http://hdl.handle.net/11228/174</a>.
.custom.total_download640
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year33
.custom.downloaded_fiscal_year49

Fulltext
Icon
Name: 2001_DMJ17_ต้นทุน ...
Size: 394.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record