Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Title
Now showing items 109-128 of 161
-
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 4 พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า-ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัยที่มุ่งกำไรเป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด กฎหมายนี้ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาลไม่เกินเพดานที่กำหนด ... -
ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
ต้นทุน-ผลได้ ของการควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย โดยเน้นการควบคุมในสุนัข
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากยังไม่มีทางรักษาโรคนี้ ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตทุกราย โดยมีสุนัขเป็นต้นเหตุที่สำคัญ องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำว่า หากสามารถฉีดวัคซีนให้แก่สุนัขได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ... -
ต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อหาต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ทั้งส่วนผู้จัดบริการและผู้รับบริการ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนผู้จัดบริการระหว่างเดือนกรกฎาคม 2545 ถึงเมษายน 2546 ใน 9 โรงพยาบาลตัวอย่าง ... -
ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัย ในจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2542
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดขนาดเล็กในภาคกลางมี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอบ้านแพ้ว และอำเภอกระทุ่มแบน โรงพยาบาลชุมชนบ้านแพ้วจะเป็นโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐแห่งแรกทีออกตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ.2542 ซึ่งจะเปลี่ยนวิธ ... -
ต้นทุนประสิทธิผลและต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาทดแทนไตในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่า การเพิ่มสิทธิประโยชนืสำหรับการรักษาทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมหรือการล้างช่องท้องอย่างต่อเนื่องให้กับผู้ประกันตนในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะมีความคุ้มค่าหรือไม่ ... -
ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี ข้อมูลสำหรับระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)ปัจจุบันสัดส่วนการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องในประเทศไทยมีน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศทั้งนี้เนื่องจากขาดแรงจูงใจในการให้บริการ จึงศึกษาเพื่อหาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่า ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทำอะไร อย่างไร ในการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 58
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)องค์การอนามัยโลกจัดให้มีการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกขึ้นทุกๆปี ละ 1 ครั้ง ผลลัพธ์ของการประชุมคือ การจัดทำข้อตกลงด้านสุขภาพอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกประจำปี พ.ศ. 2548 เป็นการประชุมครั้งที่ 58 ... -
ทำไมคนไทยถึงขี้เมา
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)องค์กรอนามัยโลกได้รายงานว่าปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์เฉลี่ยในประชากรผู้ใหญ่ไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลากว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งในส่วนของสุรากลั่นและเบียร์ แต่สถานการณ์ในไทยมีลักษณะแตกต่างจากประเทศที่มี ... -
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ ศ 2543-2546: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ... -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 1 กระบวนการกำหนดนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 2 กระบวนการพัฒนาสาระนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 3 เรียนรู้โดยการปฏิบัติจากการนำนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสู่การปฏิบัติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 4 อนาคตและทิศทางของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)5 ปี ของการดำเนินการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นับจากการกำหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่นำไปสู่การปฏิบัติในปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2549 กล่าวได้ว่าประเทศไทยมีบทเรียนแห่งความสำเร็จและการเรียนรู้จากปัญหาอุปสรรคมากมาย ... -
บทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การส่งเสริมสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมากในระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต่าง ๆ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย ในขณะที่ยังคงขาดความชัดเจนในเรื่องบทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ ...