Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Title
Now showing items 150-161 of 161
-
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การเปลี่ยนแปลงอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนไทยและต้นทุนสถานพยาบาลระดับต่างๆ เป็นแรงกดดันให้มีการปรับอัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ... -
อุปสงค์ของบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้เป้นการประมาณการอุปสงค์ของการบริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งหากรัฐบาลตัดสินใจให้ขยายการเข้าถึงยริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ทุกคนอาจส่งผลให้ความชุกและอัตราอุบัติการณ์การเข ... -
เครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย: การกระจายการใช้และการเข้าถึงบริการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)ศึกษาการกระจาย การใช้ และการเข้าถึงบริการเครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย ในระหว่างปี 2537-2542 ได้แก่ เครื่องสลายนิ่ว (ESWL) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scanner) เครื่องตรวจอวัยวะภายในด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเครื่อ ... -
เราได้อะไรจากคดีหมอฮาโรลด์ ชิปแมน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)ท่านผู้อ่านลองนึกถึงประชาชนที่รู้จักกับแพทย์คนหนึ่งและได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ท่านนี้มาเป็นเวลานานนับสิบปี อาจจะมีญาติหรือผู้ที่รู้จักอันเป็นที่รักใคร่ได้เสียชีวิตไปในระหว่างการดูแลรักษาบ้างแล้วจู่ๆก็มาทราบในภายหลังว่า ... -
แนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบัน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บัญชียาหลักแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 มีจำนวนตัวยา 634 รายการ การศึกษานี้วิเคราะห์แนวโน้มการใช้ยาของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งพบว่า ในปีงบประมาณ 2545 โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กและใหญ่ และโรงพยาบาลศูนย์ที่เป็นแล ... -
แบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ. 2533–2544)
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในช่วง 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2533-2544 โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงพยาบาลรัฐและเอกชนทั่วประเทศจำนวนสองครั้งในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2545 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ ... -
แพทย์ลาออก เขาเป็นใคร
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาลักษณะข้อมูลพื้นฐานของแพทย์ที่ลาออกจากหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี ๒๕๔๔-๒๕๔๕ โดยสืบค้นข้อมูลจากแพทย์สภาและกระทรวงสาธารณสุขในช่วงปี ๒๕๔๖ ได้จำนวน ๗๔๓ ราย พบว่าแพทย์ที่ลาอ ... -
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การเจ็บป่วยราคาแพง: ทางออกคืออะไร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)ผู้วิจัยเห็นว่าหลักฐานจากการศึกษาที่มีอยู่ เราสามารถระบุได้ว่าระบบการรักษาทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นบริการที่มีราคาแพง และมีความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสูง โดยผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มผู้มีฐานะยากจ ...