Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Title
Now showing items 73-92 of 161
-
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร : บทเรียนสำหรับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางกลไกยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคม เป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด ... -
การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดและที่มาของนโยบายเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ในอดีต และผลกระทบที่เกิดจากนโยบายดังกล่าวในการควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งนำเสนอประเด็นเพื่อใช้เป็นกรอบการกำหนดนโยบาย ... -
การจัดการความรับผิดจากการรักษาทางการแพทย์
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ทำให้อัตราการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้นในกรณีความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical error) จึงจำเป็นต้องเข้าใจกลไกในการบริหารจัดการ การแก้ไขปัญหา ... -
การจัดลำดับปัญหาทางสุขภาพของประชากรไทยในปี 2542 โดยการใช้เครื่องชี้วัดภาระโรค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ความสูญเสียด้านสุขภาพโดยใช้ดัชนีปีสุขภาวะที่สุญเสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร การเจ็บป่วยและพิการ (Disability - Adjusted Life Year: DALY) เพื่อนำมาใช้ในการจัดลำดับ ปัญหาทางสุขภาพของคนไทย ... -
การดำเนินงานของโรงพยาบาลต่อการใช้บัญชียาหลักแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บทความนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานในปัจจุบันตามหลักการและเงื่อนไขที่กำหนดในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดโรงพยาบาล 19 แห่ง รวมทั้งความคิดเห็นของแพทย์เฉพาะทางใน 5 สาขาหลัก ... -
การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนโดยระบบสุขภาพไทย : ความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)องค์กรอนามัยโลกระบุว่าระบบสุขภาพที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับและความเสมอภาคของสถานะสุขภาพรวมทั้งการตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนกลุ่มต่างๆตลอดจนสร้างความเสมอภาคในระบบการคลังด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส ... -
การทำนายโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตรสำหรับหญิงไทย กรณีศึกษาจากโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 29 แห่ง
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสมการทำนายโอกาสของการคลอดบุตรด้วยวิธีการผ่าตัดหน้าท้อง เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านมารดา ทารก ปัจจัยด้านสูติแพทย์ และปัจจัยด้านโรงพยาบาลกับโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตร ... -
การปฏิรูประบบการจัดหาและการใช้ยาในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2541
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบสองปีที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการรณรงค์เรียกร้องให้ประหยัด ให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศ เพื่อลดการสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ ยาจัดว่าเป็นสินค้าที่ต้องอาศัยปัจจัยการผลิต (เช่นวัตถุดิบ) ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของวิธีรักษาการติดเชื้อ CMVR ในจอประสาทตาของผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550) -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของวิธีรักษาการติดเชื้อ Cytomegalovirus ในจอประสาทตาของผู้ป่วย HIV/AIDS ในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)วัตถุประสงค์ : เนื่องจากการรักษา Cytomegalovirus retinitis (CMVR) ด้วยยา Ganciclovir มีหลากหลายวิธี ได้แก่ การให้ยาทางเส้นเลือด ( IV) การรับประทานยา (OR) การฉีดยาในน้ำวุ้นตา (IVT) และการผ่าตัดใส่ implant ที่มียาในน้ำวุ้นตา ... -
การประเมินผลการดำเนินงานในศูนย์สุขภาพชุมชนของจังหวัดสระบุรี
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)จากการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ ประเทศไทยได้มีนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกำหนดให้สถานพยาบาลปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรก และเรียกสถานบริการนี้ว่า ศูนย์สุขภาพชุมชน เนื่องจากเป็นนโยบายใหม่ระดับชาติ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวั ... -
การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ... -
การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก: บทเรียนจากพื้นที่เพื่อการปรับนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทยซึ่งขยายการดำเนินงานครอบคลุมทั้งประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๓ มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มีการผสมผสานการดำเนินงานเข้าสู่ในระบบการให้บริการการดูแลฝากครรภ์และคลอ ... -
การผ่าตัดคลอดบุตรสิทธิสตรีหรือความพอดีที่ควรเป็น
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)การผ่าตัดเพื่อนำบุตรออกจากมดลูกผ่านทางหน้าท้องของแม่ เริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่มีใครทราบแต่เชื่อว่ามีมาช้านานตามเรื่องเล่าชาวกรีก ฮินดู อียิปต์ กรีเซียน โรมัน หรือแม้นกระทั่วจีนโบราณล้วนมีการพูดถึงหัตถการที่มีลักษณะเดียวกันนี้ ... -
การมียาสามัญจำหน่ายในประเทศกับค่าใช้จ่ายด้านยาของโรงพยาบาล: กรณีศึกษายาที่ขึ้นทะเบียนภายใต้หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาผลของการมียาสามัญ(generic products) จำหน่วยในประเทศไทยต่อค่าใช้จ่ายด้านยาของโรงพยาบาล เฉพาะกรณียาที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาภายใต้หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ พ.ศ.2533 จำนวน 10 รายการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้ว ... -
การลาออกของแพทย์
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546) -
การวิจัยกับการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)การมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ (Stakeholders) ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ มีความสำคัญเป็นอันมาก เพื่อให้นโยบายที่ถูกกำหนดนั้นได้มีการยอมรับและดำเนินการอย่างแท้จริงเพื่อให้เกิดการพัฒนา การมีส่วนร่วมนี้หากเป็นไปบนพื้นฐาน ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การบำบัดทดแทนไตเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงซึ่งไม่ครอบคลุมโดยชุดสิทธิประโยชน์ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบัน การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องจะเป็นข้อ ... -
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ... -
การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ...