• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 89-108 จาก 161

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การวิจัยกับการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขไทย 

      สงวน นิตยารัมภ์พงศ์; พนิต มโนการ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ (Stakeholders) ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ มีความสำคัญเป็นอันมาก เพื่อให้นโยบายที่ถูกกำหนดนั้นได้มีการยอมรับและดำเนินการอย่างแท้จริงเพื่อให้เกิดการพัฒนา การมีส่วนร่วมนี้หากเป็นไปบนพื้นฐาน ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายในประเทศไทย 

      อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ทวี ศิริวงศ์; ชลธิป พงศ์สกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การบำบัดทดแทนไตเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงซึ่งไม่ครอบคลุมโดยชุดสิทธิประโยชน์ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบัน การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องจะเป็นข้อ ...
    • การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 

      รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ...
    • การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ...
    • การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547 

      กัญจนา ติษยาธิคม; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ...
    • การสำรวจการใช้ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; สัญญา ศรีรัตนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้เป็นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานการณ์การใช้และการลงทุนในระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลในประเทศไทย โดยการส่งแบบสอบถามผู้แทนอย่างน้อย ๒ คนของโรงพยาบาลทั่วประเทศ ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ...
    • การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลกระทบ 

      ทักษพล ธรรมรังสี; สุรศักดิ์ ไชยสงค์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การสำรวจเป็นเครื่องมือสำคัญในการได้มาซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ และผลกระทบข้อมูลจากการสำรวจนอกจากจะเป็นทั้งตัวชี้วัดของสถานการณ์ ความเสี่ยงและความรุนแรงของปัญกาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์แล้ว ...
    • การสำรวจทัศนคติและความต้องการบริจาคอวัยวะเพื่อข้อเสนอในเชิงนโยบาย 

      กัลยา อโณทยานนท์; พัฒนารี ล้วนรัตนากร; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะส่งผลต่อจำนวนผู้บริจาคอวัยวะ ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะโดยการสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไปในเขตอำเภอเมืองขอนแก่นและผ ...
    • การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; นงลักษณ์ โงวิวัฒน์ชัย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ...
    • การใช้ยาสามัญทดแทนยาต้นแบบในโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษาหลักเกณฑฺ์และการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ยาสามัญ (generic drugs) ทดแทนยาต้นแบบ(origin-nal drugs) ในโรงพยาบาลรับและเอกชนในประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามในโรงพยาบาล 292 แห่งในเดือนกุมภาพันธ์ 2544 ได้รับแบบสอบถามส ...
    • คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดของโรงพยาบาลในประเทศไทยยุคของการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ปราณี เลี่ยมพุธทอง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      เพื่อให้การบริหารเวชภัณฑ์ในโรงพยาบาลแต่ละแห่งของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีประสิทธิได้มีการกำหนดให้บริหารในรูปคณะกรรมการที่ชื่อ “คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด” มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ และก็ยังมีการดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน ...
    • ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ...
    • ความซับซ้อนของระบบสุขภาพ: ความเข้าใจสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
    • ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ...
    • ความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการแมมโมแกรมตามประเภทของระบบประกันสุขภาพผู้ใช้บริการในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม; วงเดือน จินดาวัฒนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      Objective : To describe the characteristics of mammography users and equal access to mammography services by beneficiaries of different insurance schemes. Setting : Mammography units of nine public hospitals, mamely the ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และความเหมาะสมในการนำเครื่องมือฉายรังสีโปรตอนมาใช้สำหรับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2543 โดยใช้การทบทวนเอกสารวิช ...
    • ความเห็นของผู้ให้บริการต่อการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล ฉบับปีกาญจนาภิเษก : กรณีศึกษาระบบสารสนเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; สัญญา ศรีรัตนะ; หทัยชนก สุมาลี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นปัญหาที่สำคัญต่อโรงพยาบาลซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงพยาลาล (Hospital Accrediation , HA) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล เพื่อนำมาประกอ ...
    • งบประมาณในการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐแห่งแรกในประเทศไทย: 782 บาทต่อคน มาจากไหน 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ประพันธ์ สหพัฒนา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      โรงพยาบาลบ้านแพ้วเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกที่จะเป็นโรงพยาบาลในกำกับของรัฐตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน โรงพยาบาลไม่มุ่งค้ากำไรและจะยังได้รับงบประมาณอุดหนุจากรัฐบาล บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นความเป็นมา วิธีคิด ...
    • งบประมาณในการดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: 1,202 บาทต่อคนต่อปีมาจากไหน 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      นโยบายรัฐบาลในการดำเนินการโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2544 นั้น กระทรวงสาธารณสุขและนักวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ตัดสินใจใช้รูปแบบการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ในระบบปลายปิด ได้แก่ รายจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการผู้ป่วยนอก ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV