Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Author "กัญจนา ติษยาธิคม"
Now showing items 1-14 of 14
-
การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547
กัญจนา ติษยาธิคม; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ... -
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; นงลักษณ์ โงวิวัฒน์ชัย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ... -
ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วลัยพร พัชรนฤมล; ไมเคิล ซิชอน; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ... -
ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ... -
วิธีวิเคราะห์ต้นทุนบริการของสถานพยาบาลแบบมาตรฐานและแบบลัด
กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)รายงานฉบับนี้เสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาล 2 แบบได้แก่ แบบมาตรฐานและแบบลัดโดยวิธีมาตรฐานนั้น จะได้ประโยชน์สำหรับผู้บริหารสถานพยาบาล ในการกำกับต้นทุนของคน และปรับประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรส่วนวิธีการลัดนั้นมีประโ ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย
จิตปราณี วาศวิท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; นวรัตน์ โอปนพันธ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วลัยพร พัชรนฤมล; กุลลักษณ์ เลิศภัทรพงษ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวชุดสิทธิประโยชน์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2546
วลัยพร พัชรนฤมล; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การกำหนดอัตราเหมาจ่ายในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับปีงบประมาณ 2545 นั้น มีข้อจำกัด 3 ประการ เนื่องจาก ข้อมูลรายละเอียดของชุดสิทธิประโยชน์ ประชา่กรเป้าหมายของกิจกรรมเฉพาะและต้นทุนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคยังไม่ชัดเจน ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่
วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ... -
อัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546
ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การเปลี่ยนแปลงอัตราการเจ็บป่วยของประชาชนไทยและต้นทุนสถานพยาบาลระดับต่างๆ เป็นแรงกดดันให้มีการปรับอัตราเหมาจ่ายรายหัวในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2546 ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...