• กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร : บทเรียนสำหรับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ลลิดา เขตต์กุฎี; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)
      พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางกลไกยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคม เป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด ...
    • การจัดการความรับผิดจากการรักษาทางการแพทย์ 

      สมหญิง สายธนู; รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์; วงเดือน จินดาวัฒนะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ทำให้อัตราการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้นในกรณีความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical error) จึงจำเป็นต้องเข้าใจกลไกในการบริหารจัดการ การแก้ไขปัญหา ...
    • การดำเนินงานของโรงพยาบาลต่อการใช้บัญชียาหลักแห่งชาติ 

      วรนัดดา ศรีสุพรรณ; อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      บทความนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานในปัจจุบันตามหลักการและเงื่อนไขที่กำหนดในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดโรงพยาบาล 19 แห่ง รวมทั้งความคิดเห็นของแพทย์เฉพาะทางใน 5 สาขาหลัก ...
    • การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนโดยระบบสุขภาพไทย : ความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      องค์กรอนามัยโลกระบุว่าระบบสุขภาพที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับและความเสมอภาคของสถานะสุขภาพรวมทั้งการตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนกลุ่มต่างๆตลอดจนสร้างความเสมอภาคในระบบการคลังด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส ...
    • การทำนายโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตรสำหรับหญิงไทย กรณีศึกษาจากโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 29 แห่ง 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสมการทำนายโอกาสของการคลอดบุตรด้วยวิธีการผ่าตัดหน้าท้อง เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านมารดา ทารก ปัจจัยด้านสูติแพทย์ และปัจจัยด้านโรงพยาบาลกับโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตร ...
    • การปฏิรูประบบการจัดหาและการใช้ยาในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2541 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบสองปีที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการรณรงค์เรียกร้องให้ประหยัด ให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศ เพื่อลดการสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ ยาจัดว่าเป็นสินค้าที่ต้องอาศัยปัจจัยการผลิต (เช่นวัตถุดิบ) ...
    • การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ...
    • การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก: บทเรียนจากพื้นที่เพื่อการปรับนโยบาย 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศิริพร กัญชนะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พรสิณี อมรวิเชษฐ์; บวร งามศิริอุดม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทยซึ่งขยายการดำเนินงานครอบคลุมทั้งประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๓ มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มีการผสมผสานการดำเนินงานเข้าสู่ในระบบการให้บริการการดูแลฝากครรภ์และคลอ ...
    • การวิจัยกับการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขไทย 

      สงวน นิตยารัมภ์พงศ์; พนิต มโนการ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ (Stakeholders) ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ มีความสำคัญเป็นอันมาก เพื่อให้นโยบายที่ถูกกำหนดนั้นได้มีการยอมรับและดำเนินการอย่างแท้จริงเพื่อให้เกิดการพัฒนา การมีส่วนร่วมนี้หากเป็นไปบนพื้นฐาน ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายในประเทศไทย 

      อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ทวี ศิริวงศ์; ชลธิป พงศ์สกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การบำบัดทดแทนไตเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงซึ่งไม่ครอบคลุมโดยชุดสิทธิประโยชน์ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบัน การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องจะเป็นข้อ ...
    • การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 

      รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ...
    • การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ...
    • การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547 

      กัญจนา ติษยาธิคม; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ...
    • การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; นงลักษณ์ โงวิวัฒน์ชัย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ...
    • คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดของโรงพยาบาลในประเทศไทยยุคของการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ปราณี เลี่ยมพุธทอง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      เพื่อให้การบริหารเวชภัณฑ์ในโรงพยาบาลแต่ละแห่งของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีประสิทธิได้มีการกำหนดให้บริหารในรูปคณะกรรมการที่ชื่อ “คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด” มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ และก็ยังมีการดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน ...
    • ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ...
    • ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ...
    • ความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการแมมโมแกรมตามประเภทของระบบประกันสุขภาพผู้ใช้บริการในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม; วงเดือน จินดาวัฒนะ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      Objective : To describe the characteristics of mammography users and equal access to mammography services by beneficiaries of different insurance schemes. Setting : Mammography units of nine public hospitals, mamely the ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และความเหมาะสมในการนำเครื่องมือฉายรังสีโปรตอนมาใช้สำหรับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2543 โดยใช้การทบทวนเอกสารวิช ...