Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Author "สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ"
Now showing items 1-20 of 61
-
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร : บทเรียนสำหรับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ลลิดา เขตต์กุฎี; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2008)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางกลไกยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคม เป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด ... -
การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วัชรา ริ้วไพบูลย์; รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดและที่มาของนโยบายเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ในอดีต และผลกระทบที่เกิดจากนโยบายดังกล่าวในการควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งนำเสนอประเด็นเพื่อใช้เป็นกรอบการกำหนดนโยบาย ... -
การจัดการความรับผิดจากการรักษาทางการแพทย์
สมหญิง สายธนู; รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์; วงเดือน จินดาวัฒนะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ทำให้อัตราการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้นในกรณีความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical error) จึงจำเป็นต้องเข้าใจกลไกในการบริหารจัดการ การแก้ไขปัญหา ... -
การดำเนินงานของโรงพยาบาลต่อการใช้บัญชียาหลักแห่งชาติ
วรนัดดา ศรีสุพรรณ; อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บทความนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานในปัจจุบันตามหลักการและเงื่อนไขที่กำหนดในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดโรงพยาบาล 19 แห่ง รวมทั้งความคิดเห็นของแพทย์เฉพาะทางใน 5 สาขาหลัก ... -
การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนโดยระบบสุขภาพไทย : ความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)องค์กรอนามัยโลกระบุว่าระบบสุขภาพที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับและความเสมอภาคของสถานะสุขภาพรวมทั้งการตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนกลุ่มต่างๆตลอดจนสร้างความเสมอภาคในระบบการคลังด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส ... -
การทำนายโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตรสำหรับหญิงไทย กรณีศึกษาจากโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 29 แห่ง
ยศ ตีระวัฒนานนท์; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสมการทำนายโอกาสของการคลอดบุตรด้วยวิธีการผ่าตัดหน้าท้อง เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านมารดา ทารก ปัจจัยด้านสูติแพทย์ และปัจจัยด้านโรงพยาบาลกับโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตร ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของวิธีรักษาการติดเชื้อ Cytomegalovirus ในจอประสาทตาของผู้ป่วย HIV/AIDS ในประเทศไทย
วัฒนีย์ เย็นจิตร; สมสงวน อัษญคุณ; ศนิอร เอี่ยวสกุล; กัลยา ตีรวัฒนานนท์; ฉวีวรรณ เย็นจิตร; ยศ ตีรวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2006)วัตถุประสงค์ : เนื่องจากการรักษา Cytomegalovirus retinitis (CMVR) ด้วยยา Ganciclovir มีหลากหลายวิธี ได้แก่ การให้ยาทางเส้นเลือด ( IV) การรับประทานยา (OR) การฉีดยาในน้ำวุ้นตา (IVT) และการผ่าตัดใส่ implant ที่มียาในน้ำวุ้นตา ... -
การประเมินผลการดำเนินงานในศูนย์สุขภาพชุมชนของจังหวัดสระบุรี
รวีวรรณ ศิริสมบูรณ์; ถนอมวงษ์ วงษ์สถิตย์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฎ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)จากการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ ประเทศไทยได้มีนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกำหนดให้สถานพยาบาลปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรก และเรียกสถานบริการนี้ว่า ศูนย์สุขภาพชุมชน เนื่องจากเป็นนโยบายใหม่ระดับชาติ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวั ... -
การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม
วีระศํกดิ์ พุทธาศรี; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ... -
การผ่าตัดคลอดบุตรสิทธิสตรีหรือความพอดีที่ควรเป็น
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)การผ่าตัดเพื่อนำบุตรออกจากมดลูกผ่านทางหน้าท้องของแม่ เริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่มีใครทราบแต่เชื่อว่ามีมาช้านานตามเรื่องเล่าชาวกรีก ฮินดู อียิปต์ กรีเซียน โรมัน หรือแม้นกระทั่วจีนโบราณล้วนมีการพูดถึงหัตถการที่มีลักษณะเดียวกันนี้ ... -
การมียาสามัญจำหน่ายในประเทศกับค่าใช้จ่ายด้านยาของโรงพยาบาล: กรณีศึกษายาที่ขึ้นทะเบียนภายใต้หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; สุกัญญา เจียระพงษ์; อัญชลี จิตรักนที; สุวิมล ฉกาจนโรดม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาผลของการมียาสามัญ(generic products) จำหน่วยในประเทศไทยต่อค่าใช้จ่ายด้านยาของโรงพยาบาล เฉพาะกรณียาที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาภายใต้หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ พ.ศ.2533 จำนวน 10 รายการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้ว ... -
การลาออกของแพทย์
ทักษพล ธรรมรังสี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546) -
การวิจัยกับการมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขไทย
สงวน นิตยารัมภ์พงศ์; พนิต มโนการ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 1998)การมีส่วนร่วมของฝ่ายต่างๆ (Stakeholders) ในการกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ มีความสำคัญเป็นอันมาก เพื่อให้นโยบายที่ถูกกำหนดนั้นได้มีการยอมรับและดำเนินการอย่างแท้จริงเพื่อให้เกิดการพัฒนา การมีส่วนร่วมนี้หากเป็นไปบนพื้นฐาน ... -
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ... -
การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลกระทบ
ทักษพล ธรรมรังสี; สุรศักดิ์ ไชยสงค์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2006)การสำรวจเป็นเครื่องมือสำคัญในการได้มาซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ และผลกระทบข้อมูลจากการสำรวจนอกจากจะเป็นทั้งตัวชี้วัดของสถานการณ์ ความเสี่ยงและความรุนแรงของปัญกาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์แล้ว ... -
การสำรวจทัศนคติและความต้องการบริจาคอวัยวะเพื่อข้อเสนอในเชิงนโยบาย
กัลยา อโณทยานนท์; พัฒนารี ล้วนรัตนากร; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะส่งผลต่อจำนวนผู้บริจาคอวัยวะ ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะโดยการสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไปในเขตอำเภอเมืองขอนแก่นและผ ... -
การใช้ยาสามัญทดแทนยาต้นแบบในโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในประเทศไทย
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาหลักเกณฑฺ์และการปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ยาสามัญ (generic drugs) ทดแทนยาต้นแบบ(origin-nal drugs) ในโรงพยาบาลรับและเอกชนในประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามในโรงพยาบาล 292 แห่งในเดือนกุมภาพันธ์ 2544 ได้รับแบบสอบถามส ... -
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดของโรงพยาบาลในประเทศไทยยุคของการปฏิรูประบบสุขภาพ
อารยา ศรีไพโรจน์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ปราณี เลี่ยมพุธทอง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)เพื่อให้การบริหารเวชภัณฑ์ในโรงพยาบาลแต่ละแห่งของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีประสิทธิได้มีการกำหนดให้บริหารในรูปคณะกรรมการที่ชื่อ “คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด” มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ และก็ยังมีการดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน ... -
ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวารเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2006)แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ... -
ความซับซ้อนของระบบสุขภาพ: ความเข้าใจสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพ
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)