Now showing items 1-4 of 4

    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; กัญจนา ติษยาธิคม; เอื้องฟ้า คงเอี่ยมตระกูล; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ปัจจัยในการตัดสินใจเชิงนโยบายและสิ่งท้าทายของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาลในลักษณะการเหมาจ่ายรายหัว(CAPITION CON-TRACT MODEL) ร่วมกับการจ่ายเงินตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแทนที่จะใช้วิธีการจ่ายเงินตามรายการร ...