Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Subject "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า"
Now showing items 1-18 of 18
-
การประเมินผลการดำเนินงานในศูนย์สุขภาพชุมชนของจังหวัดสระบุรี
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)จากการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ ประเทศไทยได้มีนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกำหนดให้สถานพยาบาลปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรก และเรียกสถานบริการนี้ว่า ศูนย์สุขภาพชุมชน เนื่องจากเป็นนโยบายใหม่ระดับชาติ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวั ... -
ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ... -
ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ... -
ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 1 กระบวนการกำหนดนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 2 กระบวนการพัฒนาสาระนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 3 เรียนรู้โดยการปฏิบัติจากการนำนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสู่การปฏิบัติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 4 อนาคตและทิศทางของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)5 ปี ของการดำเนินการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นับจากการกำหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่นำไปสู่การปฏิบัติในปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2549 กล่าวได้ว่าประเทศไทยมีบทเรียนแห่งความสำเร็จและการเรียนรู้จากปัญหาอุปสรรคมากมาย ... -
ปัจจัยในการตัดสินใจเชิงนโยบายและสิ่งท้าทายของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาลในลักษณะการเหมาจ่ายรายหัว(CAPITION CON-TRACT MODEL) ร่วมกับการจ่ายเงินตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแทนที่จะใช้วิธีการจ่ายเงินตามรายการร ... -
ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ... -
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการรังสีรักษาในประเทศไทยภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านผู้ให้บริการหน่วยรังสีรักษาและผู้รับบริการซึ่งหมายถึงผู้ป่วยมะเร็งที่ต้ ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ... -
อุปสงค์ของบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้เป้นการประมาณการอุปสงค์ของการบริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งหากรัฐบาลตัดสินใจให้ขยายการเข้าถึงยริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ทุกคนอาจส่งผลให้ความชุกและอัตราอุบัติการณ์การเข ...