Show simple item record

Health systems reform in Taiwan

dc.contributor.authorวิชิต เปานิลen_US
dc.contributor.authorWichit Paonilen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:38Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:30Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:38Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:30Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0716en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1850en_US
dc.description.abstractการปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศไต้หวันการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อนำเสนอพัฒนาการของระบบสุขภาพของไต้หวัน ทั้งในส่วนปัญหา และวิธีการแก้ไขโดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูประบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็นบทเรียนประกอบการพัฒนาระบบสุขภาพของไทย โดยศึกษาจากเอกสารเป็นหลักแล้วนำเสนอและวิเคราะห์ตามแนวทางการศึกษาเชิงคุณภาพ ไต้หวันประสบความสำเร็จอย่างสูงในการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ดัชนีทางสุขภาพต่างๆ อยู่ในเกณฑ์ที่ใกล้เคียงกับประเทศที่พัฒนาแล้ว อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมวัฒนธรรมจากการพัฒนาประเทศ ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพตามมา จนทำให้รัฐบาลต้องปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศ โดยดำเนินการ 4 ด้านหลัก คือ 1) ปรับปรุงระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์ เพื่อการประสานการให้บริการครอบคลุมมากขึ้น 2) สร้างระบบประกันสุขภาพแห่งชาติที่ครอบคลุมประชากรทั่วประเทศ โดยรวมระบบประกันสุขภาพที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกันแล้วขยายให้ครอบประชากรทั้งหมด ในเดือนเมษายน 1999 ครอบคลุมประชากรได้ถึงร้อยละ 96.06 บริหารการเงินแบบ fee-for-service ร่วมกับ co-payment 3) โครงการสร้างเครือข่ายฐานข้อมูลให้สถานบริการในพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ และ 4) โครงการผลิตแพทย์ประจำครอบครัว ที่จะช่วยให้แพทย์ปฏิบัติงานในชุมชนและบริการฉุกเฉินได้ดีขึ้น การดำเนินงานที่ผ่านมาถือว่าประสบผลสำเร็จพอควร ปัญหาที่เป็นผลต่อเนื่องจากโครงการดังกล่าวคือประชาชนใช้บริการทางสุขภาพเพิ่มขึ้นมาก จนค่าใช้จ่ายรวมสูงกว่าเบี้ยประกันที่เก็บได้ ทำให้ต้องพยายามหามาตรการทางการเงินรวมทั้งออกกฎเกณฑ์ในการเข้ารับบริการในสถานพยาบาลให้เข้มงวดมากขึ้น ซึ่งได้กลายเป็นอุปสรรคในการเข้าถึงบริการของกลุ่มคนที่จำเป็นต้องใช้บริการด้วย บทเรียนของไต้หวันเมื่อนำมาใช้กับไทยคงต้องพิจารณาความเหมือนและความต่างของประเทศทั้ง 2 ด้วย โดยเฉพาะฐานะทางเศรษฐกิจและความเข้มแข็งทางการเมืองที่ไทยแตกต่างจากไต้หวันมาก แนวทางการปฏิรูประบบสุขภาพที่ไต้หวันดำเนินการต้องใช้งบประมาณสูงมาก ยังคงเน้นที่การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขเป็นหลัก และยังคงมีปัญหาด้านพฤติกรรมของประชาชนที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่องอย่างไม่มีที่สิ้นสุด การปฏิรูประบบสุขภาพของไต้หวันอาจต้องถูกตั้งคำถามว่าจะแก้ปัญหาที่แท้จริงด้านสุขภาพได้เพียงใด ตามแนวทางนี้ธุรกิจยา เทคโนโลยีทางการแพทย์ และธุรกิจบริการสุขภาพอาจเป็นผู้ที่ได้รับผลประโยชน์มากกว่าประชาชน การเตรียมการเพื่อปฏิรูประบบสุขภาพในประเทศไทย นอกจากใช้บทเรียนจากการปฏิรูปของต่างประเทศแล้ว อาจต้องค้นหาวิธีการอื่นและมุมมองอื่นที่มาจากพื้นฐานของสังคมวัฒนธรรมไทยประกอบด้วยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent6309599 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Systems Reform -- Taiwanen_US
dc.subjectHealth Care Reform -- Taiwanen_US
dc.subjectTaiwanen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
dc.subjectไต้หวันen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.titleการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวันen_US
dc.title.alternativeHealth systems reform in Taiwanen_US
dc.description.abstractalternativeHealth systems reform in TaiwanThis documentary study presented the developing process of health system in Taiwan. Strategies, tools, and other experiences those are applied to solve health problems in Taiwan will be learned Taiwan has succeedded in economics and industrial developments as well as impressive gains in the health of the general population. However new health problems accompany with the rapid rising cost of health expenditure and access to care problems are primary factors for formulating policy in health reform in Taiwan.These are:Setting of medical care Network: to balance their medical resources,Applying the National Health Insurance(NHI) Project in 1995Creating Computerized Patients and Health Information Network to improve health service facilities, andDeveloping Family Practice Tranning Programs for their personal. This universal coverage NHI program creates monopsony buying power and promotes administrative efficiency. Fee-for service and co-payment are used as financial strategies.Although the health system reform is able to distribute providers and facilities to remote areas and gives a chance for the poor to access health services, the cost of health expenditure in still rising. Many payment mechanisms such as capitation, case payment, or global budget and other administrative strategies are proposed by experts to solve this problem. Many differencess between Taiwan and Thailand should be concerned when some health reform strategies will be brought to apply in our country. Very contrast to Thailand, the strength of economic sector and government in Taiwan make at least 2 programs, NHI program and medical care network program, possible. Thus, these strategies should be careful if implement in Thai society. Many tools for health system reform from the Western countries, however, many have limitations for solving health problems in oriental developing countries as Thailand.en_US
dc.identifier.callnoWA540.JT2 ว549ก 2543en_US
dc.subject.keywordการเข้าถึงบริการสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการปฏิรูประบบสาธารณสุขen_US
.custom.citationวิชิต เปานิล and Wichit Paonil. "การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวัน." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1850">http://hdl.handle.net/11228/1850</a>.
.custom.total_download440
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year26
.custom.downloaded_fiscal_year43

Fulltext
Icon
Name: hs0716.PDF
Size: 6.430Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record