Browsing มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) by Author "ยุวดี คาดการณ์ไกล"
Now showing items 1-15 of 15
-
การกระจายอำนาจกับการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วรัญญู เสนาสุ (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)กระบวนการกระจายอำนาจและหลักการปกครองตนเอง (Decentralization and Local Self-government) ส่งผลให้เกิดการขยายบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความเชื่อมโยงกับประชาชน แนวความคิดในการจัดการปกครองท้องถิ่นของไทยจึงเกิดขึ้น ... -
การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย
ภูมินทร์ บุตรอินทร์; Bhumindr Butr-indr (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ถ้าจะกล่าวว่า “ระบอบประชาธิปไตยเป็นโครงร่างกระบวนการยุติธรรมนั้นก็เปรียบได้กับเนื้อหนังมังสา” แต่กระบวนการ ยุติธรรมนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงการใช้อำนาจของหน่วยงานต่างๆ แต่เป็นการให้บริการประชาชนโดยอำนาจความยุติธรรม ... -
การปฏิรูปกองทุนยุติธรรม
ปกป้อง ศรีสนิท; Pokpong Srisanit (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)ถ้าจะกล่าวว่า“ระบอบ ประชาธิปไตยเป็นโครงร่างกระบวนการยุติธรรมนั้นก็เปรียบได้กับเนื้อหนังมังสา”แต่กระบวนการ ยุติธรรมนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงการใช้อำนาจของหน่วยงานต่างๆ แต่เป็นการให้บริการประชาชนโดยอำนาจความยุติธรรม ... -
การปฏิรูปการกระจายอำนาจการคลังสู่ท้องถิ่น
ดวงมณี เลาวกุล (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนับว่ามีความสำคัญมากและได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ได้มีบทบัญญัติให้มีการกระจายอำนาจใ ... -
การปฏิรูปการกระจายอำนาจและการจัดการปกครองท้องถิ่น
ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์; Supasawad Chardchawarn (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)การสำรวจองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปประเทศไทยในประเด็นเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการจัดการปกครองท้องถิ่นในประเทศไทย ที่กำลังจะได้อ่านต่อไปนี้ เป็นความพยายามในการชี้ให้เห็นถึงประเด็นข้อถกเถียงเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการจัดก ... -
การปฏิรูปตลาดทุนกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
สฤณี อาชวานันทกุล; Sarinee Achavanuntakul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจถ้าปล่อยให้เลวร้ายลงเรื่อยๆ ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็น ‘ปัญหา’ ที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขของสังคมเนื่องจากสินทรัพย์อย่างเช่น หลักทรัพย์และที่ดินทวีมูลค่าตามกาลเวลาความ ... -
การปฏิรูปเพื่อลดการผูกขาดและส่งเสริมการแข่งขันในเศรษฐกิจไทย
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)โดยทั่วไปแล้วสภาพการแข่งขันในตลาดในทางปฏิบัตินั้นยังห่างไกลจากการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม เนื่องจากเหตุผลสองประการ ประการแรกกฎกติกาของภาครัฐอาจจำกัดการแข่งขันในตลาด ด้วยเหตุผลอื่นๆ ที่มิใช่เหตุผลในเชิงเศรษฐศาสตร์ เช่น ... -
การสำรวจองค์ความรู้ภาษีผลได้จากทุนในตลาดหุ้น และข้อเสนอสำหรับประเทศไทย
ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)การบังคับใช้ภาษีผลได้จากทุนจะ “มุ่งจัดเก็บจากกลุ่มคนมีรายได้สูงเป็นหลัก ซึ่งสามารถปรับปรุงระบบภาษีไทยให้มีลักษณะการจัดเก็บอัตราก้าวหน้ายิ่งขึ้นได้ นอกจากนั้น ภาษีผลได้จากทุนยังถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการเพิ่มร ... -
การสำรวจองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปประเทศไทย: การปฏิรูปตลาดทุนกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
สฤณี อาชวานันทกุล (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจถ้าปล่อยให้เลวร้ายลงเรื่อยๆ ได้พิสูจน์ ให้เห็นว่าเป็น ‘ปัญหา’ ที่คุกคามความอยู่ดีมีสุขของสังคม เนื่องจากสินทรัพย์อย่างเช่น หลักทรัพย์ และ ที่ดิน ทวีมูลค่าตามกาลเวลา ... -
ความยุติธรรม คำพิพากษา ปัญหาสิ่งแวดล้อม
แบ๊งค์ งามอรุณโชติ; Bank Ngamarunchot (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมที่กล่าวถึงกันนั้นไม่ใช่ปัญหาทางกายภาพที่แยกขาดจาก “คน” หรือ “สังคม” การที่สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้นมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ในสังคมโดยเฉพาะการทำให้เกิด “ความขัดแย้ง” เช่นเมื่อโรงงานปลดปล่อย ... -
ระบบค่าปรับทางอาญา
อิสร์กุล อุณหเกตุ; Itsakul Unahakate (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)โทษปรับ คือโทษทางอาญาฐานหนึ่ง ซึ่งมีข้อดีในแง่ต้นทุนการบริหารจัดการที่ต่ำกว่าโทษจำคุก คุมประพฤติ และกักบริเวณ นอกจากนี้ สังคมยังไม่ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์จากโทษจำคุก และผู้กระทำผิดไม่เกิด ‘ตราบาป’ ดังนั้นการใช้โทษปรับแ ... -
ระบบประกันสังคมของไทย
ภัทชา ด้วงกลัด (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)ระบบประกันสังคมเป็นหลักประกันสังคมสำคัญที่ช่วยให้กำลังแรงงานของประเทศจัดการกับความเสี่ยงในการดำรงชีวิตได้ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ถึงแม้ว่าระบบการประกันสังคมของไทยจะมีมานานกว่า ... -
ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศใดประเทศหนึ่ง จำเป็นจะต้องวิเคราะห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาลในประเทศนั้นๆ ด้วย เนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญที่สุดของรัฐบาล ซึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีคว ... -
เกษตรพันธสัญญา: ภาพรวมและบทสำรวจประเด็นปัญหาในประเทศไทย
นนท์ นุชหมอน; Nondh Nuchmorn (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาภูมิทัศน์การเคลื่อนย้ายทรัพยากรอาหารทั้งภายในและระหว่างประเทศได้เปลี่ยนรูปแบบไป อย่างมากด้วยแรงผลักดันทั้งจากผู้บริโภคในสังคมสมัยใหม่และจากประเทศผู้นำเข้าที่ให้ความสำคัญกับปัจจัยด้าน คุณภาพและความ ... -
โฉนดชุมชน
สกลฤทธิ์ จันทร์พุ่ม (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)โฉนดชุมชนกลายเป็นคำพูดติดปากที่มักถูกกล่าวอ้างถึงในระยะไม่กี่เดือนที่ผ่านมาว่าเป็นแนวทางสำคัญในการแก้ปัญหา การจัดการที่ดินในประเทศไทยและถือเป็นนโยบายที่จับต้องได้ของรัฐบาลนายก อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หลังจากที่มีการ ...