Show simple item record

A study on knowledge of Consumer Empowerment in a Foreign Conutry

dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ อยู่สำราญth_TH
dc.contributor.authorWilailak Yoosamramen_US
dc.contributor.authorณัฐจรี สุวรรณภัฎth_TH
dc.contributor.authorรุ่งนภา เทพภาพth_TH
dc.contributor.authorชัชวาล เทียมถนอมth_TH
dc.contributor.authorNatcharee Suwannaputen_US
dc.contributor.authorRungnapa Tappapen_US
dc.contributor.authorChatchawal Tiemthanomen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:24:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:42:01Z
dc.date.available2008-12-04T05:24:37Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:42:01Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifierOn loan at HSRI libraryen_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2103en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ รวมทั้ง แนวคิด หลักการ ปรัชญา ตลอดจนแนวทางการทำงาน เครื่องมือ เทคนิค และเงื่อนไขที่ส่งเสริม ข้อจำกัดของการดำเนินงานด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ โดยใช้แนวคิดเรื่องกระบวนการผู้บริโภค อันประกอบด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และการเสริมสร้างพลังผู้บริโภค เป็นกรอบในการวิเคราะห์ พื้นที่ในการศึกษามีจำนวนทั้งสิ้น 8 ประเทศ สำหรับวิธีการที่นำมาใช้ในการศึกษา คือ เทคนิคการวิจัยจากเอกสาร ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการผู้บริโภคในทุกประเทศให้ความสำคัญใน 2 ส่วน คือ การคุ้มครองผู้บริโภค และ การเสริมสร้างพลังผู้บริโภค ในส่วนของการคุ้มครองผู้บริโภคนั้น ผู้ที่มีบทบาทหลัก ได้แก่ ภาครัฐ โดยใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือในการปกป้องคุ้มครองผู้บริโภค ขณะที่การเสริมสร้างพลังผู้บริโภค ในหลายประเทศองค์กรภาคประชาสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) เช่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น รัฐจะมีบทบาทอย่างมากในการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเสริมสร้างพลังขึ้นในผู้บริโภค สำหรับแนวทางในการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคจะเน้นไปที่การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของผู้บริโภค ในกรณีของบางประเทศ เช่น อินเดีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น มีมิติของการเคลื่อนไหวเพื่อรักษาสิทธิ์และเรียกร้องให้เกิดการพิทักษ์ปกป้องสิทธิ์ของผู้บริโภคอย่างชัดเจน เมื่อวิเคราะห์เทคนิค เครื่องมือที่องค์กร/หน่วยงานต่างๆใช้ในการดำเนินการเพื่อการเสริมสร้างพลังผู้บริโภค พบว่า ในทุกประเทศให้ความสำคัญกับการให้การศึกษาเป็นลำดับต้นๆนอกจากนี้แล้วยังมีการใช้เทคนิค เครื่องมืออื่นๆด้วย เช่น การประชุม สัมมนา การอบรม การศึกษาดูงาน การทำโครงการชุมชน การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ การวิจัย เป็นต้น ในส่วนของปัจจัยที่สนับสนุน และข้อจำกัดในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างพลังผู้บริโภคนั้นมีมากมายหลากหลาย แปรเปลี่ยนไปตามบริบทและเงื่อนไขแวดล้อมของแต่ละประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม รวมทั้งทรัพยากรต่างๆ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคทั้งสิ้นth_TH
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectConsumer Advocacyen_US
dc.subjectผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการศึกษาองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศth_TH
dc.title.alternativeA study on knowledge of Consumer Empowerment in a Foreign Conutryen_US
dc.identifier.callnoWA288 ว734กen_US
dc.subject.keywordEmpowermenten_US
dc.subject.keywordConsumeren_US
dc.subject.keywordพลังผู้บริโภคen_US
dc.subject.keywordการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคth_TH
.custom.citationวิไลลักษณ์ อยู่สำราญ, Wilailak Yoosamram, ณัฐจรี สุวรรณภัฎ, รุ่งนภา เทพภาพ, ชัชวาล เทียมถนอม, Natcharee Suwannaput, Rungnapa Tappap and Chatchawal Tiemthanom. "การศึกษาองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2103">http://hdl.handle.net/11228/2103</a>.
.custom.total_download0
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0


Fulltext

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record