แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ

dc.contributor.authorวิโรจน์ ณ ระนองen_US
dc.contributor.authorWirot Na Ranongen_US
dc.contributor.authorอัญชนา ณ ระนองen_US
dc.contributor.authorอรรถกฤต เล็กศิวิไลen_US
dc.contributor.authorAnchana Na Ranongen_US
dc.contributor.authorAnthakrit Leksiwilaien_US
dc.contributor.authorสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยen_US
dc.contributor.authorThailand Development Research Institute Foundationen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:24:51Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:52Z
dc.date.available2008-12-04T05:24:51Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:52Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.otherhs1392en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2128en_US
dc.descriptionชุดโครงการวิจัยประเมินผลกระทบของระบบประกันสุภาพถ้วนหน้าด้านการเงินการคลัง: โครงการวิจัยการใช้ข้อมูลการสำรจมาวัดผลกระทบของโครงการ 30 บาทฯ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน และการสร้างดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพen_US
dc.descriptionรายงานเล่มที่ 3 แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพen_US
dc.description.abstractการวัดผลประโยชนที่ประชาชนกลุ่มต่างๆ (เช่น ตามเศรษฐานะต่างๆ) ได้รับจากโครงการของภาครัฐ (benefit incidence) เป็นเครื่องมือหนึ่งทางเศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Finance หรือในปัจจุบันมักเรียกว่าเศรษฐศาสตร์ภาครัฐหรือ Economics of the Public Sector) ใช้ในการวัดผลที่เกิดจากการแทรกแซงของภาครัฐ (โดยมักจะพิจารณาควบคู่ไปกับการวัดผลกระทบของภาษีหรือ tax incidence ซึ่งเมื่อพิจารณาประกอบกันก็จะบ่งบอกถึงผลของการแทรกแซงของรัฐในด้านการกระจายรายได้หรือในแง่ความเป็นธรรม ) ในรายงานฉบับนี้จะนำเสนอแนวทางและทางเลือกต่างๆ ในการสร้างตัวแบบสําหรับคำนวณผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit incidence) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับดัชนีอื่นๆ การใช้ benefit incidence ก็เป็นดัชนีที่มีข้อจํากัดอยู่ไม่น้อย (เพราะเป็นการมองจากมุมเดียว) และยังมีข้อสมมุติที่ strong บางประการ (เช่น การใช้ขอสมมุติว่าประโยชน์ที่ประชาชนได้รับเท่ากับ (หรือแม้กระทั่งแปรผันตรงกับ)เงินที่รัฐใช้) ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ benefit incidence แต่อย่างเดียวในการสรุปหรือประเมินผลในด้านความเป็นธรรมของโครงการด้านหลักประกันสุขภาพของภาครัฐth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยen_US
dc.format.extent579120 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Insurance Systemsen_US
dc.subjectInsurance Benefitsen_US
dc.subjectInsurance, Healthen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectประกันสุขภาพen_US
dc.subjectระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)th_TH
dc.titleแนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพen_US
dc.identifier.callnoW275 ว711น ล.3 2550en_US
dc.identifier.contactno50-010-10en_US
dc.subject.keywordBenefit Incidence Analysisen_US
dc.subject.keywordการวิเคราะห์ผลประโยชน์en_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพen_US
.custom.citationวิโรจน์ ณ ระนอง, Wirot Na Ranong, อัญชนา ณ ระนอง, อรรถกฤต เล็กศิวิไล, Anchana Na Ranong, Anthakrit Leksiwilai, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย and Thailand Development Research Institute Foundation. "แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2128">http://hdl.handle.net/11228/2128</a>.
.custom.total_download73
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1392.pdf
ขนาด: 590.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย