แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การบริหารจัดการการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพในต่างประเทศ

dc.contributor.authorจอมขวัญ โยธาสมุทรen_US
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสen_US
dc.date.accessioned2009-04-02T06:59:01Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:41:35Z
dc.date.available2009-04-02T06:59:01Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:41:35Z
dc.date.issued2551-04en_US
dc.identifier.isbn978-974-06-6807-7en_US
dc.identifier.otherhs1543en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2297en_US
dc.descriptionLocation:HSRIen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการที่ดำเนินการอยู่ในหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินเทคโนโลยีและนโยบายสุขภาพในประเทศต่างๆ วิธีศึกษา รวบรวมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบสืบค้น Medline, Google Scholar ตลอดจนเว็บไซต์ที่เป็นทางการของหน่วยงานและนำมาศึกษาหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกหน่วยงานประกอบด้วย 1 หน่วยงานประเมินฯนั้นเป็นหน่วยงานระดับประเทศ และเป็นหน่วยงานไม่แสวงผลกำไร 2 สามารถสืบค้นข้อมูลของหน่วยงานได้จากแหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ 3 ข้อมูลที่เข้าถึงได้นั้นต้องเป็นภาษาอังกฤษ ในขั้นตอนสุดท้ายผู้วิจัยคัดเลือกหน่วยงานแบบเจาะจง (Purposive selection) โดยพิจารณาจากการมีข้อมูลในปริมาณมากพอและเป็นประโยชน์ ในการวิจัยนี้ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) เป็นวิธีการหลัก ผลการศึกษา หน่วยงานประเมินเทคโนโลยีและนโยบายสุขภาพที่ผู้วิจัยคัดเลือกเข้ามาในการศึกษานี้ประกอบด้วยหน่วยงานใน 10 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ และแอฟริกาใต้ กระบวนการประเมินที่ดำเนินการอยู่ในหน่วยงานที่นำมาศึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอนหลัก 1 การคัดเลือกหัวข้อเทคโนโลยี หรือนโยบายมาประเมิน องค์กรที่ทำการประเมินส่วนใหญ่เปิดกว้างให้ผู้เกี่ยวข้องส่งหัวข้อที่ต้องการประเมิน โดยผู้ที่ส่งหัวข้อในการประเมิน คือ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาธารณสุข บุคลากรในหน่วยงานของรัฐ ผู้ใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพ และบุคคลทั่วไป นอกจากนั้นพบว่า เว็บไซต์เป็นช่องทางหลักในการให้ผู้เกี่ยวข้องส่งหัวข้อที่ต้องการให้มีการประเมิน เกณฑ์การคัดเลือกที่ใช้อย่างแพร่หลายที่สุดคือ เกณฑ์ภาระโรค (Burden of disease) 2 การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ มีการมอบหมายคณะนักวิจัยซึ่งโดยส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญตามสาขาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหรือนโยบายที่นำมาประเมิน ซึ่งอาจเป็นนักวิจัยภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบการประเมิน หรือผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิชาการต่างๆ 3 การอนุมัติหรือรับรองผลการประเมิน โดยจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นและข้อชี้แนะจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการวิจัย กระบวนการในขั้นตอนมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย 4 การอุทธรณ์ผลการประเมิน มีเฉพาะบางหน่วยงานเท่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขอบเขตอำนาจของหน่วยงานประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ ในส่วนของการบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่หน่วยงานประเมินเทคโนโลยี/นโยบายด้านสุขภาพควรคำนึง เนื่องจากผลการประเมินและข้อเสนอแนะจะมีผลในวงกว้างทั้งต่อโอกาสการขึ้งบริการสุขภาพของประชาชน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพและการสาธารณสุข รวมทั้งภาระการเงินการคลังสาธารณะ และผลกำไรและขาดทุนของผู้ประกอบธุรกิจเฉพาะรายen_US
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,สำนักนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ,สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพen_US
dc.rightsโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการบริหารจัดการการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพในต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeManagement of health technology assessment in foreign countriesen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeTitle: Management of health technology assessment in foreign countries Objective: The study aims to explore how the processes to assess the appropriateness of health technologies are managed and carried out in responsible organizations in other countries. Methods: Literature search on MedLine, Google Scholar as well as institutes websites were employed in order to gather relevant information. The selection criteria were; (1) the institute must be the national representative and noncommercial institute (2) data must be able to retrieve via electronic database and (3) relevant information must be in English. Certain institutes with rich and useful information were selected purposively. Content analysis of the documents was the major approach of this review. Results: Health technology assessment institutes in 10 countries, namely England, Germany, the Netherlands, Sweden, Denmark, the USA, Canada,Australia, Republic of Korea, and South Africa are included in this study. The review suggests that the processes undertaken in these organizations can be divided into 4 main steps: (1) The selection of health interventions to the assessment: Website is a common channel for topic submission. Eligible stakeholders to propose particular technologies comprise different parties namely including healthcare professionals, government bodies, health technology users and the public. The magnitude of health problems expressed in term of ็burden of disease้ is the most widely-employed criteria. (2) Assessment and consultation: Once the topics are selected, groups of researchers will be assigned to conduct the assessment according to their expertise. The research team generally consists of members of the institute,s advisory committee and scientists from universities, research institutes and representatives of government agencies. (3) Approval of the evaluation results: consultations are convened to obtain comments and suggestions concerning the assessment results. This stage involves experts in relevant fields, health minister, and other key stakeholders in order to ensure the reliability and acceptability of the findings and policy recommendations. (4) The appeal procedure: Concerned parties are allowed to make appeal over the disagreeable assessment results. This procedure is available in some institutes with appraisal or policy decision authority. With regard to the good governance, it is argued that such an idea should be incorporate in the management of health technology assessment, since the results of the assessments and relating policy recommendations are undeniably affect a wide range of actors in the health sector. Concerning issues include the potential implications for the access to healthcare, government’s budget as well as business’s profits.en_US
dc.identifier.callnoW74 จ195ก 2551en_US
dc.subject.keywordการประเมินเทคโนโลยีen_US
dc.subject.keywordนโยบายด้านสุขภาพen_US
.custom.citationจอมขวัญ โยธาสมุทร and ศรีเพ็ญ ตันติเวสส. "การบริหารจัดการการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพในต่างประเทศ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2297">http://hdl.handle.net/11228/2297</a>.
.custom.total_download729
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year34
.custom.downloaded_fiscal_year81

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1543.pdf
ขนาด: 5.180Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย