แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547

dc.contributor.authorกัญจนา ติษยาธิคมen_US
dc.contributor.authorจิตปราณี วาศวิทen_US
dc.contributor.authorวลัยพร พัชรนฤมลen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T03:25:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:53:50Z
dc.date.available2008-10-01T03:25:39Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:53:50Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 12,6(2546) : 907-922en_US
dc.identifier.issn0858-4923en_US
dc.identifier.otherDMJ42en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/238en_US
dc.description.abstractการจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ 2546 ได้อัตราเหมาจ่ายเป็น 1,414 บาทต่อคนต่อปี โดยยึดแนวทางเช่นเดียวกับปี 2545 ในครั้งนี้ ได้คำนวณอัตราเหมาจ่ายกรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคล และการนำข้อมูลต้นทุนค่ารักษาพยาบาลระดับตติยภูมิของโรงพยาบาลเฉพาะทางและโรงพยาบาลเอกชนมาร่วมในการคำนวณด้วย การศึกษาในปีงบประมาณ 2547 และเสนอทางเลือกในการใช้ฐานข้อมูลเพื่อกำหนดอัตราเหมาจ่ายรายหัว การคำนวณอัตราเหมาจ่ายรายหัว ปี 2547 ให้คงหลักการเหมือนปี 2546 คืออัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลที่เป้นปัจจุบัน อัตราการเจ็บป่วยมีสองฐานข้อมูลคือ การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ปี 2544 ละการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (สศส.) ปี 2545 ครึ่งปีแรกการวิเคราะห์พบว่า การเจ็บป่วยทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน กลุ่มที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าของ สศส. 2545 ต่ำกว่า สอส. 2544 เท่ากับ 2.41 เท่า และ 1.21 เท่า ตามลำดับ คณะกรรมการพิจารณาเห็นว่าควรใช้ข้อมูลอัตราการเจ็บป่วยจาก สอส. 2544 เนื่องจากมีความเชื่อมั่นต่อข้อมูล สอส. 2544 มากกว่า สอส. 2545 วิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยด้วยสองวิธีการคือ วิธีที่หนึ่ง การคำนวณแบบลัดจากข้อมูลรายงาน 0110 รง. 5 ปีงบประมาณ 2545 พบว่า ต้นทุนของโรงพยาบาลจังหวัดสูงกว่าปี 2544 ร้อยละ 11 ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชนต่ำกว่าปี 2544 ร้อยละ 13 วิธีที่สอง การปรับต้นทุนปี 2544 ด้วยอัตราเพิ่มของเงินเดือนและดัชนีราคาผู้บริโภค พบว่าต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 สำหรับสถานพยาบาลทุกระดับ เมื่อนำมาคำนวณอัตราเหมาจ่ายค่ารักษาพยาบาล โดยอัตราเหมาจ่ายของสิทธิประโยชน์อื่นๆ เท่ากับปี 2546 ส่วนค่าลงทุน (replacement cost) ให้ใช้สัดส่วนเดิมในปี 2546 คือร้อยละ 10 ของค่ารักษาพยาบาล ดังนั้นพบว่า อัตราเหมาจ่ายรายหัวจากการคำนวณต้นทุนทั้งสองวิธีเท่ากับ 1,472 และ 1,447 บาท ต่อคนต่อปีตามลำดับen_US
dc.format.extent2776809 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.rightsสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.subjectโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.titleการวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547en_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordอัตราเหมาจ่ายรายหัวen_US
.custom.citationกัญจนา ติษยาธิคม, จิตปราณี วาศวิท, วลัยพร พัชรนฤมล and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/238">http://hdl.handle.net/11228/238</a>.
.custom.total_download890
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year140
.custom.downloaded_fiscal_year28

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: 2003_DMJ42_การวิเ ...
ขนาด: 2.648Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย