แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

แนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบัน

dc.contributor.authorวรนัดดา ศรีสุพรรณen_US
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorไพทิพย์ เหลืองเรืองรองen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T03:28:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:54:58Z
dc.date.available2008-10-01T03:28:45Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:54:58Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 13,1(2547) : 37-46en_US
dc.identifier.issn0858-4923en_US
dc.identifier.otherDMJ46en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/242en_US
dc.description.abstractบัญชียาหลักแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 มีจำนวนตัวยา 634 รายการ การศึกษานี้วิเคราะห์แนวโน้มการใช้ยาของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งพบว่า ในปีงบประมาณ 2545 โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กและใหญ่ และโรงพยาบาลศูนย์ที่เป็นและไม่เป็นโรงเรียนแพทย์ ซื้อยาโดยเฉลี่ยแห่งละ 4.83; 23.85 และ 45.02; 85.99 และ 138.66 ล้านบาท ตามลำดับ โรงพยาบาลที่มีขนาดเล็กใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติคิดเป็นสัดส่วนของเงินที่จัดซื้อสูงกว่าในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ สำหรับยาที่มีค่าใช้จ่ายสูง 50 อันดับแรก โรงพยาบาลชุมชนใช้งบประมาณส่วนใหญ่ ระยะเวลาศึกษาระหว่างเดือนธันวาคม 2545 ถึงมีนาคม 2546 (86.6%) ซื้อยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยเฉพาะบัญชี ก. ซึ่งแตกต่างจากโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลศูนย์ สำหรับยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์ (NSAID) ในโรงพยาบาลศูนย์ 4 แห่ง ค่าใช้จ่ายของ COX2 inhibitors ได้แก่ Celecoxib และ Rofecoxib สำหรับผู้ป่วยนอกเพิ่มจาก 0.44 ล้านบาท ในไตรมาสที่ 2 ปี 2543 เป็น 1.7 ล้านบาทในไตรมาสสุดท้ายปี 2544 ในขณะที่ NSAID ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ยกเว้น Metoxicam ลดลงจาก 1.2 เป็น 1.0 ล้านบาท ในช่วงเวลาเดียวกัน สัดส่วนการใช้ยาที่มีราคาแพงมีความแตกต่างระหว่างสิทธิการรักษาประเภทต่างๆ โดยผู้ป่วยที่ใช้สวัสดิการข้าราชการในปี 2543 และ 2544 มีโอกาสได้รับ COX2 inhibitors (5.1 และ 12.2%), Meloxicam (8.8 และ 11.0%), และ NSAID ที่ไม่ใช่ยาหลัก แห่งชาติ (21.4 และ 19.1%) คิดเป็นสัดส่วนสูงกว่าผู้ป่วยในโครงการผู้มีรายได้น้อยและประกันสังคม ประมาณการว่า หากผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวเปลี่ยนยาเป็นชนิดที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติจะทำให้ประหยัดเงินของสวัสดิการข้าราชการได้ 4.5 และ 7.6 ล้านบาท ในปี 2543 และ 2544 ตามลำดับen_US
dc.format.extent1399536 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.rightsสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.subjectบัญชียาหลักแห่งชาติen_US
dc.titleแนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบันen_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordการใช้ยาen_US
dc.subject.keywordค่าใช้จ่ายด้านยาen_US
dc.subject.keywordยาหลักen_US
.custom.citationวรนัดดา ศรีสุพรรณ, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, สุพล ลิมวัฒนานนท์, ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "แนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบัน." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/242">http://hdl.handle.net/11228/242</a>.
.custom.total_download1098
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year137
.custom.downloaded_fiscal_year25

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: 2004_DMJ46_แนวโน้ ...
ขนาด: 1.334Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย