Show simple item record

Competencies of Health Research Managers: A Case Study of Health Research System

dc.contributor.authorจเร วิชาไทยen_US
dc.contributor.authorCharay Vichathaien_US
dc.contributor.authorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.authorPongpisut Jongudomsuken_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-07-24T05:54:34Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:03:29Z
dc.date.available2009-07-24T05:54:34Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:03:29Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,1(ม.ค.-มี.ค.2552) : 87-96en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2565en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบการประเมินศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยสุขภาพและประเมินศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยสุขภาพตามกรอบดังกล่าวด้วยวิธีการประเมินตนเอง และใช้กลุ่มตัวอย่างที่เลือกอย่างเจาะจง 20 คนที่เป็นผู้จัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และเครือข่ายของสถาบันฯ กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 44.16 ปี และอายุงานในตำแหน่งผู้จัดการงานวิจัยระบบสุขภาพโดยเฉลี่ย 2 ปี 5 เดือน กรอบการประเมินศักยภาพตนเองพัฒนาได้จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง และกรอบบทบาทและการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการงานวิจัยสุขภาพที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลกมาใช้พัฒนากรอบดังกล่าว มีคณะทำงานที่ประกอบด้วยผู้บริหารแผนงานวิจัยและผู้จัดการงานวิจัยอาวุโสจำนวนหนึ่ง ช่วยปรับปรุงกรอบการประเมินที่พัฒนาขึ้น กรอบการประเมินศักยภาพตนเองมี 8 ด้าน ดังนี้ 1. ความสามารถในการวิเคราะห์องค์กร 2. การวางแผนและบริหารชุดโครงการวิจัย 3. การวางแผนและบริหารโครงการวิจัย 4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อพัฒนาระบบวิจัยสุขภาพ 5. ระบบข้อมูลเพื่อบริหารงานวิจัยและจัดการความรู้ 6. ระบบบริหารการเงินโครงการวิจัย 7. การบริหารจัดการเพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย และ 8. การบริหารจัดการทั่วไป ผลการประเมินศักยภาพตนเองของผู้จัดการงานวิจัยในภาพรวมไม่มีศักยภาพด้านใดที่ผู้จัดการงานวิจัยประเมินว่าตนเองสามารถทำได้ดี (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3) ศักยภาพด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อพัฒนาระบบวิจัยสุขภาพได้คะแนนเฉลี่ยต่ำสุด (คะแนน 2.40) ขณะที่ศักยภาพในการวางแผนและบริหารโครงการวิจัยได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุด (คะแนน 2.85) และศักยภาพในกลุ่มผู้จัดการงานวิจัยที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 3 ปี ได้คะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่มีประสบการณ์น้อยกว่าทั้ง 8 ประเด็น การศึกษาครั้งนี้ช่วยให้เห็นกรอบบทบาทและกรอบศักยภาพที่ต้องการของผู้จัดการวิจัยสุขภาพชัดเจนขึ้น แต่กรอบดังกล่าวยังต้องการการพัฒนาต่อไปอีก เนื่องจากกรอบเครื่องมือไม่ได้มีการทดสอบความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือ รวมทั้งจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีน้อย ครอบคลุมเฉพาะผู้จัดการงานวิจัยของ สวรส. และเครือข่ายเท่านั้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent208723 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectงานวิจัยen_US
dc.subjectระบบสุขภาพ--วิจัยen_US
dc.titleศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยไทย : กรณีศึกษาการวิจัยระบบสุขภาพen_US
dc.title.alternativeCompetencies of Health Research Managers: A Case Study of Health Research Systemen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed at developing a framework for assessing the competencies of health research managers and conducting self-assessment of 20 health research managers working for the-Health Systems Research Institute and its affiliates. The research managers were purposively sampled and self-assessment was conducted through a self-administered questionnaire. The average age of the persons sampled was 44.16 years and the average duration of working as a health research manager was 2 years and 5 months. The self-assessment framework was developed by reviewing relevant documents. The Health Research Management Modules produced by WHO were considered as providing the conceptual framework for drafting the self-assessment questionnaire, which was later improved by the working group comprising a number of experienced health research managers. The self-assessment framework included eight domains of competencies as follows: 1) organization analysis; 2) research program planning and management; 3) research project planning and management; 4) capacity-building of the health research system; 5) information system for research and knowledge management; 6) financial management system for research projects; 7) management for research utilization; and 8) general management. Results show no competency domain was assessed as good or best (average score equal to or more than 3). Competency for capacity-building of the health research system was scaled as the poorest (2.40), while the competency of research project planning and management was scored as the highest (2.67). The average score of every domain was higher for more experienced health research managers (over 3 years of working in this position) than for the less experienced ones (less than 3 years’ experience). This study helped to identify clearer roles and competencies of health research managers. However, the competency framework needs improvement since its validity and reliability have not been tested, and the number of subjects sampled in this study was small.en_US
dc.subject.keywordการจัดการงานวิจัยen_US
dc.subject.keywordผู้จัดการงานวิจัยen_US
dc.subject.keywordการวิจัยระบบสุขภาพen_US
dc.subject.keywordResearch Managementen_US
dc.subject.keywordResearch Manageren_US
dc.subject.keywordHealth Systems Researchen_US
dc.subject.keywordCompetencyen_US
dc.subject.keywordศักยภาพen_US
.custom.citationจเร วิชาไทย, Charay Vichathai, พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข and Pongpisut Jongudomsuk. "ศักยภาพผู้จัดการงานวิจัยไทย : กรณีศึกษาการวิจัยระบบสุขภาพ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2565">http://hdl.handle.net/11228/2565</a>.
.custom.total_download599
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year47
.custom.downloaded_fiscal_year65

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n1 ...
Size: 208.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record