การทบทวนวรรณกรรมการประเมินใช้ Insulin analogue ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน
dc.contributor.author | จันทนา พัฒนเภสัช | en_US |
dc.contributor.other | โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ | en_US |
dc.date.accessioned | 2010-02-09T08:25:50Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-15T08:41:40Z | |
dc.date.available | 2010-02-09T08:25:50Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-15T08:41:40Z | |
dc.date.issued | 2550-10 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2884 | en_US |
dc.description.abstract | เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังซึ่งผู้ป่วยจะต้องควบคุมดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งร่างกายไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ หรือผลิตได้น้อย จึงจำเป็นต้องได้รับยาฉีดอินซูลินทุกวันเพื่อเลียนแบบการหลั่งอินซูลินตามธรรมชาติในคนปกติ ล่าสุดได้มีการพัฒนาอินซูลินแอนะล็อกโดยการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของกรดอะมิโนในโมเลกุลอินซูลินทำให้คุณสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์เปลี่ยนไป แต่เนื่องจากอินซูลินแอนะล็อกมีราคาแพงกว่าอินซูลินแบบเดิมที่ใช้อยู่ จึงไม่แน่ใจว่าอินซูลินแอนะล็อกมีความเหมาะสมที่จะใช้ในผู้ป่วยเบาหวานทุกรายหรือผู้ป่วยเบาหวานเฉพาะกลุ่ม รายงานฉบับนี้จึงรวบรวมข้อมูลของอินซูลินแอนะล็อกในด้านประสิทธิผลทางคลินิกและด้านเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบกับอินซูลินชนิดเดิม โดยรวบรวมจากผลการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบในต่างประเทศเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการคัดเลือกยาเข้าโรงพยาบาล และการเลือกใช้ยาของบุคลากรทางการแพทย์ พบว่าอินซูลินแอนะล็อกมีผลดีทางคลินิกไม่มากนักในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ที่ได้รับการรักษาด้วยอินซูลิน หากผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับอินซูลินชนิดเดิมเปลี่ยนมาใช้อินซูลินแอนะล็อกจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านยาสูงขึ้น ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ควรพิจารณาการใช้อินซูลินแอนะล็อกในผู้ป่วยเบาหวานเป็นรายกรณี และควรมีความรอบคอบต่อการทำการตลาดของอินซูลินแอนะล็อกจนกว่าจะมีข้อมูลยืนยันด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ซึ่งยังมีข้อมูลสนับสนุนที่ไม่เพียงพอ | en_US |
dc.description.sponsorship | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข,สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | en_US |
dc.format.extent | 311418 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ | en_US |
dc.rights | โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ | en_US |
dc.subject | เบาหวาน | en_US |
dc.title | การทบทวนวรรณกรรมการประเมินใช้ Insulin analogue ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | chantana@ihpp.thaigov.net | en_US |
dc.subject.keyword | Insulin analogue | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ป่วยเบาหวาน | en_US |
.custom.citation | จันทนา พัฒนเภสัช. "การทบทวนวรรณกรรมการประเมินใช้ Insulin analogue ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2884">http://hdl.handle.net/11228/2884</a>. | |
.custom.total_download | 1173 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 3 | |
.custom.downloaded_this_year | 209 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 26 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ [22]
Health Intervention and Technology Assessment Program (HITAP)