แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา

dc.contributor.authorสมคิด วีระเทพสุภรณ์en_US
dc.contributor.authorSomkid Virathipsupornen_US
dc.coverage.spatialฉะเชิงเทราen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:53:49Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:16Z
dc.date.available2008-10-02T06:53:49Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:16Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 3) : 644-648en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/288en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคในอำเภอสนามชัยเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยศึกษาเปรียบเทียบผลการดูแลรักษาผู้ป่วย 2 กลุ่ม คือ ผู้ป่วยกลุ่ม 1 (รูปแบบเดิม) มีพี่เลี้ยงกำกับการกินยา คือ ได้รับการดูแลรักษาโดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสนามชัยเขต บุคคลครอบครัว หรืออาสาสมัครสาธารณสุขทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงกำกับการกินยาของผู้ป่วย กลุ่มนี้มีผู้ป่วย 141 ราย ผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 (รูปแบบใหม่) มีแรงสนับสนุนทางสังคม คือการดูแลรักษาผู้ป่วยได้รับการสนับสนุนทางสังคม โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลขอความร่วมมือให้หน่วยงานสาธารณสุขในแต่ละตำบล พร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและอาสาสมัครสาธารณสุขติดตาม และดูแลสภาพความเป็นอยู่ให้ความช่วยเหลือให้กำลังใจและดูแลการกินยาของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ในกลุ่มนี้มีผู้ป่วย 38 ราย ทำการเก็บข้อมูลจากทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค (รบ.1ก04) และแผ่นประวัติการรักษาผู้ป่วยวัณโรค วิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบไฆสแควร์ ผู้ป่วยเป็นชาย ร้อยละ 66.5 และหญิงร้อยละ 33.5 อายุ 17-88 ปี เฉลี่ย 53.3 ปี ผู้ป่วยร้อยละ 91.1 เป็นวัณโรคปอด ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ป่วยรายใหม่ร้อยละ 73.2 ผลตรวจเสมหะเมื่อเริ่มรักษาเป็นผลลบ ร้อยละ 62.0 ไม่เคยมีประวัติป่วยเป็นวัณโรคมาก่อน ร้อยละ 73.2 และไม่มีประวัติแพ้ยา ร้อยละ 88.3 ผู้ป่วยร้อยละ 76 รักษาด้วยระบบยาที่ 1 จำหน่ายเนื่องจากรักษาครบ ร้อยละ 35.2 ได้ผลการรักษาสำเร็จ (หายและรักษาครบ) ร้อยละ 64 ในกลุ่มรับการดูแลรักษาผู้ป่วยหลังปรับรูปแบบได้ผลการรักษาสำเร็จร้อยละ 81.6 ไม่สำเร็จร้อยละ 18 ผลแตกต่าง ก่อนปรับรูปแบบการรักษาได้ผลการรักษาสำเร็จร้อยละ 60.3 ไม่สำเร็จ ร้อยละ 39.7 ผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผลสำเร็จในการบำบัดรักษาเกิดจากแรงสนับสนุนทางสังคม ทั้งจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขสมาชิกในครอบครัวและอสม. ซึ่งให้การสนับสนุนการดูแลผู้ป่วย ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหา ดูแลการกินยาและสภาพความเป็นอยู่ต่างๆth_TH
dc.format.extent201701 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราen_US
dc.title.alternativeTreatment Result of Tuberculosis Patients in Sanam Chaikhet District, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this work was to assess the results of tuberculosis patients treated at Sanam Chaikhet District, Chachoengsao Province by comparing the result of treatment between the Group 1 regimen, i.e., with the assistance of family members or public health volunteers in 141 patients and the Group 2 regimen, with treatment assisted by sub-dis trict personnnel, together with family members or volunteers for 38 patients. The data obtained from the patients’ registration (RorBor. 1K04) and treatment cards were analyzed for the number of patients, means, percentage, and the chi-square test. Of the 179 patients, 66.5 percent were male and 33.5 percent female, aged 10 to 88 years, with the average being 53.3 years. About 91.1 percent were cases of lung TB, of which 73.2 percent were registered as new cases, and 88.3 percent had no history of allergy. The majority (76 percent) of patients received treatment for category I, for which only 35.2 percent of the patients completed the treatment. Successful treatment, as cured patients and completed treatment, was obtained in 64 percent of patients. The results of treatment with the adapted regimen were 81.6 percent cured, 18.0 percent unsuccessful, while those treated with the old regimen showed success in 60 percent of patients and 39.7 percent were unsuccessfully treated. The difference between the two regimens was statistically significant at the level of 0.05.en_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยวัณโรคen_US
dc.subject.keywordการบำบัดรักษาวัณโรคen_US
dc.subject.keywordTuberculosis--Patientsen_US
dc.subject.keywordTuberculosis Treatmenten_US
.custom.citationสมคิด วีระเทพสุภรณ์ and Somkid Virathipsuporn. "การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/288">http://hdl.handle.net/11228/288</a>.
.custom.total_download618
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year29
.custom.downloaded_fiscal_year65

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 201.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย