แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังกล

dc.contributor.authorคำนึ่ง สีแก่นen_US
dc.contributor.authorKamnoeng Seekanen_US
dc.coverage.spatialนครสวรรค์en_US
dc.date.accessioned2008-10-02T06:55:14Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:13Z
dc.date.available2008-10-02T06:55:14Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:13Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 3) : 680-684en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/293en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังวลที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ ในช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2550 ทำการศึกษากลุ่มแบบวัดก่อนและหลังการทดลองในกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มเลือกได้ 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) แบบสอบถามส่วนบุคคล 2 แบบวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ ฉบับภาษาไทย และ 3) โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกตามแนวคิดของนีลสันโจนส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบค่าทีชนิดจับคู่ที่สัมพันธ์กัน ผลการศึกษาแสดงว่าความวิตกกังวลของผู้ป่วยกลุ่มตัวอย่างลดลงหลังจากได้เข้าร่วมโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี < .05) ซึ่งเป็นข้อมูลสนับสนุนว่าโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกมีประสิทธิภาพช่วยลดความวิตกกังวล สามารถนำไปปฏิบัติเป็นวิธีการรักษาในผู้ป่วยโรควิตกกังวลได้th_TH
dc.format.extent196180 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังกลen_US
dc.title.alternativeEffect of the Positive Self-talk Training Program in Patients with Generalized Anxiety Disorderen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research study was aimed at assessing the effect of the positive self-talk training program on anxiety in patients with generalized anxiety disorder. All subjects were outpatients of the Takfa Hospital, Nakhon Sawan Province, seen during the period October through December 2007. The study was one of a group of pre-post tests conducted on 15 subjects obtained from random sampling. Research instruments comprised (1) a demographic data form, (2) the translated version of State-trait Anxiety Inventory of Spielberger, and (3) the Positive Self-talk Training Program based on the concept of Nelson-Jones. Data were analyzed using descriptive statistics and paired ttest. The findings were that the state-anxiety score of the patients decreased significantly after they joined the Positive Self-talk Training Program (p < 0.05). The finding suggests that the methodology could be taken as a guideline for ameliorating anxiety in patients with generalized anxiety disorder.en_US
dc.subject.keywordโรควิตกกังวลen_US
.custom.citationคำนึ่ง สีแก่น and Kamnoeng Seekan. "ผลของโปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังกล." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/293">http://hdl.handle.net/11228/293</a>.
.custom.total_download822
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year65
.custom.downloaded_fiscal_year108

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 195.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย