แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ในจังหวัดอำนาจเจริญ

dc.contributor.authorสมหญิง พุ่มทองen_US
dc.contributor.authorลลิตา วีระเสถียรen_US
dc.contributor.authorวรพรรณ สิทธิถาวรen_US
dc.contributor.authorอภิชาติ รุ่งเมฆารัตน์en_US
dc.contributor.authorอรลักษณา แพรัตกุลen_US
dc.contributor.authorSomying Pumtongen_EN
dc.contributor.authorLalita Wirasathienen_EN
dc.contributor.authorWorapan Sitthithawornen_EN
dc.contributor.authorApichat Rungmekaraten_EN
dc.contributor.authorOrnlaksana Paeratakulen_EN
dc.coverage.spatialอำนาจเจริญen_US
dc.date.accessioned2010-09-23T06:09:35Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:06:43Z
dc.date.available2010-09-23T06:09:35Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:06:43Z
dc.date.issued2553-06en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 4,2(เม.ย.-มิ.ย. 2553) : 281-295en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2996en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทยพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดในจังหวัดอำนาจเจริญ การเก็บข้อมูลทำโดยการสัมภาษณ์หมอพื้นบ้าน ได้แก่ หมอสมุนไพร หมอตำแย หมอพิธีกรรม หมอนวดแผนไทย และเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์แผนไทย ร่วมกับการสังเกตการณ์ การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างหมอพื้นบ้านใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง (n=43) กลุ่มตัวอย่างบุคลากรสาธารณสุข ได้แก่ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดอำนาจเจริญ (n=7) ระยะเวลาดำเนินการคือระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2552 และเมษายน พ.ศ.2553 ผลการศึกษาพบว่าประชาชนในจังหวัดอำนาจเจริญมีการสั่งสมถูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการทำคลอดและการดูแลหญิงหลังคลอด รวมทั้งการใช้สมุนไพร อย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบัน กระบวนการถ่ายทอดความรู้มักเป็นการบอกเล่าจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน หรือการฝึกปฏิบัติ/การสอนภายในครอบครัว ในอดีตการทำคลอดแบบพื้นบ้านกระทำโดยหมอตอบหมอบ (หมอตำแย) วิธีการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดแบบพื้นบ้าน ได้แก่ การอยู่กรรม (การอยู่ไฟ) การอาบสมุนไพร ร่วมกับพิธีกรรมต่างๆ เช่น การฝังรก การรับขวัญเด็ก การปราบผีพรายผีเป้า นอกจากนี้มีการใช้สมุนไพรหลายชนิดและหลายรูปแบบกับหญิงหลังคลอดเพื่อทำความสะอาดร่างกายขณะอยู่ไฟ ขับน้ำคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ บำรุงน้ำนม บำรุงเลือด ใช้เป็นยาระบาย โดยมีทั้งสมุนไพรเดี่ยวและสมุนไพรตำรับ พืชสมุนไพรส่วนใหญ่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ยืนยันฤทธิ์หรือสรรพคุณในการรักษาตามข้อบ่งใช้ แต่ยังมีพืชอีกจำนวนหนึ่งที่ไม่มีข้อมูลวิทยาศาสตร์สนับสนุน ปัจจุบันมีการนำแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยมาผสมผสานกับการแพทย์แผนปัจจุบันในโรงพยาบาลในจังหวัดอำนาจเจริญเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอด นโยบายจากภาครัฐมีส่วนอย่างมากในการสร้างแรงจูงใจให้สถานพยาบาลทุกระดับจัดการให้บริการแพทย์แผนไทยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการแพทย์แผนไทยen_US
dc.subjectการดูแลภายหลังคลอดen_US
dc.subjectครรภ์en_US
dc.subjectการอยู่ไฟen_US
dc.titleการดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ในจังหวัดอำนาจเจริญen_US
dc.title.alternativePostpartum Care through Traditional Thai Medicine in Amnat Charoen Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this qualitative research was to investigate and compile knowledge of Thai traditional medicine for postpartum care in Amnat Charoen, a province in the northeastern part of Thailand. Data collection was done through individual and group interviews of folk doctors, including herb doctors, midwives, shamans, traditional massage therapists (n=43) and healthcare professionals from all hospitals (n=7), along with on-site observations. The study was undertaken between May 2009 and April 2010. It was evident that inherited traditional medicine/folk medicine regarding midwifery and postpartum care has long been practiced in the area of Amnat Charoen up to the present. The knowledge and wisdom in this particular area have passed from generation to generation, i.e. from ancestors to younger family members, via story telling, traditional practice, and a mentor system. In the past, labor in childbhirth was typically assisted by a traditional midwife. Several postpartum care regimens would then be employed after childbirth, e.g. yu-gum or yu-fai (body warming using heat/fire), herbal bathing, along with many religious rites. Various medicinal plants, either of single or multiple formulas, have been used for mothers for the purposes of body cleansing, evacuation of amniotic fluid from the uterus, and stimulation of lactation. In addition, some plants are used as blood tonics or laxatives for nursing mothers. A number of herbs have already been investigated for their chemical constituents and related pharmacologic actions; however, some have not yet been studied, thus their activities remain unknown or questionable. It was found that folk medicine/traditional medicine has been integrated harmoniously with modern medicine in the current practice of postpartum care in government hospitals in Amnat Charoen. It was also quite apparent that the government policy regarding Thai traditional medicine has played a major role in expanding both the number and quality of traditional health services available at every level of health care.en_US
.custom.citationสมหญิง พุ่มทอง, ลลิตา วีระเสถียร, วรพรรณ สิทธิถาวร, อภิชาติ รุ่งเมฆารัตน์, อรลักษณา แพรัตกุล, Somying Pumtong, Lalita Wirasathien, Worapan Sitthithaworn, Apichat Rungmekarat and Ornlaksana Paeratakul. "การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ในจังหวัดอำนาจเจริญ." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2996">http://hdl.handle.net/11228/2996</a>.
.custom.total_download12077
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month149
.custom.downloaded_this_year900
.custom.downloaded_fiscal_year1635

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v4n2 ...
ขนาด: 310.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย