• บทเรียนการบริหารจัดการบริการปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : คู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง 

      เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ; Kriengsak Vacharanukulkieti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การดำเนินการครั้งนี้เป็นการถอดบทเรียนการบริหารจัดการบริการสุขภาพปฐมภูมิของคู่สัญญาระดับปฐมภูมิโรงพยาบาลภูกระดึง ซึ่งได้รับรางวัลหน่วยบริการนวัตกรรม ด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าดีเด่น (เหรียญทอง) ประเภทบริหารจัดการ (Universal ...
    • บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ...
    • ประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เราเชื่อและเรามุ่งมั่น 

      Walaiporn Patcharanarumol; Tippawan Witworrasakul; Cattleeya Kongsupapsiri; Churnrurtai Kanchanachitra; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; ทิพวรรณ วิทย์วรสกุล; แคลียา คงสุภาพศิริ; ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      การประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พ.ศ. 2555 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 มกราคม 2555 ณ โรงแรมเซนทารา แกรนด์ กรุงเทพมหานคร ภายใต้หัวข้อ “ก้าวสู่ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า เร่งพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ” หรือ ...
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...
    • ผลการดำเนินนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อระบบบริการสาธารณสุขไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; สินชัย ต่อวัฒนกิจกุล; Samrit Srithamrongsawat; Sinchai Torwatanakitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของรัฐบาลได้ผนวกการปฏิรูประบบบริการสุขภาพสำคัญสองประการคือการ บริหารจัดการการคลังระบบบริการสาธารณสุขและการสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการปฐมภูมิจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่นโยบายดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อส ...
    • ผู้ป่วยภาวะไตล้มเหลวเรื้อรังภายใต้นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2548 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อรอุมา ช่วยเรือง; Onuma Chuayruang; อลีน่า กรรณสูต; Alina Kanasuta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาสถานการณ์การดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะไตล้มเหลวเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยในของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2548 เลือกผู้ป่วยที่มีรหัสการวินิจฉัยเป็นภาวะไตล้มเหลวเรื้อรัง ...
    • ลักษณะความเหลื่อมล้ำในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage: UHC) แต่ยังมีความท้าทายที่สำคัญด้านความไม่เสมอภาคของผู้ใช้บริการระบบสาธารณสุข ได้แก่ ความคุ้มครองภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่าเทีย ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) เศรษฐศาสตร์ก ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...