Now showing items 1244-1263 of 1326

    • องค์กรธุรกิจเพื่อสังคม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์กรธุรกิจเพื่อสังคมเป็นองค์กรที่นำจุดเด่นขององค์กรธุรกิจมาผนวกกับเป้าหมายเพื่อสังคมขององค์กรการกุศลสาธารณะต่างๆ นั่นคือ จะเน้นประสิทธิภาพในการประกอบกิจการให้สามารถทำกำไรได้โดยไม่ต้องพึ่งพาการบริจาค แต่ผลกำไรจะมุ่งเพื่ ...
    • อยู่ดีดี 

      พลอย กษมา แย้มดี; ยศวดี สนธิไชย (ตาแสง Studio, 2559-01)
      วารสารอยู่ดีดี จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่เรื่องราวของการออกแบบเพื่อคนทุกคน (Universal Design : UD) ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาและตัวอย่างงานที่เกิดจากการแชร์ความรู้จากภาคีและเครือข่ายต่างๆ จากเวิร์คช็อฟ สุนทรยสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยน ...
    • อวสานกรุงเทพฯ 2563 

      เสรี ศุภราทิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงเมืองหนึ่งที่มีการเติบโตและพัฒนาที่รวดเร็ว และจัดเป็นเมืองใหญ่ลำดับที่ 22 ของโลก เมื่อพิจารณาในแง่ของประชากรกว่า 8 ล้านคน กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อนลึกกว่า 15 เมตร โดยเป็นที่ราบต่ำลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ...
    • อหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 

      สรันยา เฮงพระพรหม; Sarunya Hengpraprom; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      การแปรสภาพภูมิอากาศของโลกส่วนใหญ่เป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลกระทบทางลบจากการเปลี่ยนแปลงคือภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ การกระจายของโรคและพาหะของเชื้อโรคหลายชนิด ซึ่งย้อนกลับมาส่งผลต่อมนุษย์เอง ...
    • อัตราการคงอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

      พิศาล ไม้เรียง; Pisaln Mairieng; อนงค์ศรี งอสอน; Anongsri Ngoson; อภิดา รุณวาทย์; Apida Runvat; บุศยศรี ศรีบุศยกุล; Bussayasri Sribussayakul; ปราณี คำมา; Pranee Kumma (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจอัตราการคงอยู่ของศิษย์เก่าแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังการชดใช้ทุน ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นศิษย์เก่าที่จบการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต รุ่นที่ 1-22 การสำรวจรว ...
    • อัตราการจบการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

      อนงค์ศรี งอสอน; Anongsri Ngoson (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาอัตราการจบการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างปีการศึกษา 2516-2555 จำนวน 40 รุ่น 5,598 คน จบไปแล้วจำนวน 34 รุ่น 3,966 คน เก็บข้อมูลจากหน่วยทะเบียนนักศึกษา ...
    • อัตราความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปรกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในคนงานไร่อ้อย 

      ทวีสิน ธีระธนานนท์; สุนทร ศุภพงษ์; นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล; Thaveesin Teeratananon; Soontorn Supapong; Narin Hiransuthikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง เพื่อหาอัตราความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในคนงานไร่อ้อย โดยทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ.2552 ใช้แบบสัมภาษณ์ที่ปรับปรุงมาจาก ...
    • อัตราค่ารักษาทางทันตกรรมจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่และการเบิกจ่าย 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ดวงเดือน วีระฤทธิพันธ์; Doungdoen Veerarittiphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จ่ายค่าจัดฟันผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ให้หน่วยบริการแบบเหมาจ่ายครั้งเดียว 48,000 บาทตลอดชีวิตผู้ป่วยแม้ว่ายังอยู่ในระหว่างการจัดฟัน เมื่อผู้ป่วยบางคนมีความจำเป็นต้องย้ายที่อยู่และร ...
    • อัตลักษณ์ของระบบและนโยบายสุขภาพไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก การควบคุมการระบาดของโรคโควิดในประเทศไทยติดอันดับดีที่สุด 1-3 ของโลก จากความสำเร็จดังกล่าว ซึ่งเป็นข้อสรุปจากปรากฏการณ์ที่ประจักษ์ชัดว่าการที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ...
    • อาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อ คอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน Smartphone ในผู้หญิงอายุ 18-25 ปี 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo; ณัฐชยา สิรินิลกุล; Natchaya Sirininlakul; ณัฐริกานต์ ศักดิ์สนิท; Nattarikan Saksanit; พิชญา คงดนตรี; Pichaya Kongdontree; พิมพ์พิสุทธิ์ ธุวาทร; Phimpisut Thuwatorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ปัญหาสุขภาพจากการใช้ smartphone เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การป้องกันมีความสำคัญและเร่งด่วน วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาอาการปวดและการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณคอ ไหล่ แผ่นหลังส่วนบนและแขนส่วนบน ขณะใช้งาน ...
    • อาชีวอนามัย-ความสำคัญของการตรวจสุขภาพ 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การตรวจสุขภาพในความหมายที่ใช้กันในวงการอาชีวอนามัย อาจพิจารณาได้ว่าประกอบด้วย 1. การตรวจก่อนบรรจุเป็นพนักงาน 2. การตรวจก่อนบรรจุเข้าตำแหน่งหรือก่อนย้ายแผนกงาน 3. การตรวจเป็นระยะๆ มักจะเป็นการตรวจประจำปี 4. การตรวจเพื่อปร ...
    • อาสาสมัครสาธารณสุข : ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นรูปแบบสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาธารณสุขตามนโยบายสาธารณสุขมูลฐานที่มีการดำเนินการมานานกว่า 3 ทศวรรษ การศึกษาชิ้นนี้เป็นการประเมินศักยภาพและบทบาทของ อสม. ในบริบทสังคมไท ...
    • อุตสาหกรรมยาสูบและข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ในประเทศไทย 

      สุชาดา ตั้งทางธรรม (2540)
      รัฐบาลไทยอาจชื่นชมกับรายได้จากอุตสาหกรรมยาสูบปีละกว่า 20,000 ล้านบาท จนลืมความขมขื่นที่ต้องใช้งบประมาณปีละกว่า 7,000 ล้านบาทเพื่อการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจากโรคที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ซึ่งต้องเสียชีวิตลงปีละกว่า 4 หมื่นคน ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...
    • อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยที่สงสัยไข้เดงกี่ (ผลการรายงานเบื้องต้น) 

      จุไร วงศ์สวัสดิ์; Jurai Wongsawat; ปฐมา สุทธา; Patama Suttha; สุมนมาลย์ อุทยมกุล; Sumonmal Utayamakul; สุมาลี ชะนะมา; Sumalee Chanama; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      บทนำ การติดเชื้อไวรัสซิกาที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญในช่วงทศวรรษนี้ เชื้อซิกาเป็นเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับเชื้อไวรัสเดงกี่ และมีอาการทางค ...
    • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในกลุ่มทารกแรกเกิด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย 

      พิมลพรรณ ต่างวิวัฒน์; Pimolphan Tangwiwat; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangrattananon; วรรณชนก ลิ้มจำรูญ; Wanchanok Limchumroon; เบญจวรรณ อิ้งทม; Benjawan Ingthom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ที่มาและความสำคัญ: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อมาตรการควบคุมโรค การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดบริการด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจากการติดโรค การศึกษานี้ ...
    • อ่านงานวิจัยแล้วตีความหมายผลลัพธ์อย่างไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (2562-09)
      “อะไรเป็นแรงจูงใจให้ผู้อ่านต้องอ่านงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ” และ “ผู้อ่านได้อะไรบ้างเมื่ออ่านงานวิจัยจบ” คือสิ่งที่บทบรรณาธิการฉบับนี้ต้องการเชื่อมโยงถึง “ทำไมเราต้องอ่านหนังสือ” หรือเมื่อตั้งเป็นคำถามวิจัยว่า ...
    • เครือข่ายร้านยา-โรงพยาบาลในระบบบริการสาธารณสุขแบบครบวงจร 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ (2541)
      คำว่า "ระบบบริการสาธารณสุขครบวงจร (Integrated Health Service System)" เป็นแนวคิดใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นภายในทศวรรษนี้ หมายถึงรูปแบบบริการสาธารณสุขที่ประกอบด้วยบริการหลากหลาย ซึ่งจัดโดยหน่วยบริการหลายหน่วย แต่มีการประสานเชื่ ...
    • เครือข่ายสถาบันวิจัยทางคลินิกที่เชื่อมโยงกับงานวิจัยพื้นฐาน 

      ปรีดา มาลาสิทธิ์; Prida Malasit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ชีวภาพ เป็นฐานหนึ่งที่สำคัญของระบบการแพทย์และสาธารณสุข ข้อมูลและเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพ จะเป็นเครื่องมือให้กับประเทศในการเผชิญกับปัญหาโรคอุบัติใหม่อย่างมีประสิทธิ ...
    • เติมเต็มช่องว่างทางความรู้ เพื่อนำไปสู่ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ : ทางเลือกงานวิจัยด้านสุขภาพในอนาคต 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      โครงการจัดลำดับความสำคัญหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการวิจัยด้านสุขภาพเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบสุขภาพไทย ...