Now showing items 1-4 of 4

    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในกลุ่มทารกแรกเกิด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย 

      พิมลพรรณ ต่างวิวัฒน์; Pimolphan Tangwiwat; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangrattananon; วรรณชนก ลิ้มจำรูญ; Wanchanok Limchumroon; เบญจวรรณ อิ้งทม; Benjawan Ingthom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ที่มาและความสำคัญ: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อมาตรการควบคุมโรค การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดบริการด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจากการติดโรค การศึกษานี้ ...