Now showing items 1-16 of 16

    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การพัฒนากลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยในจิตเวช ฉบับที่ 3 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์; Benjamas Prukkanone; นิชนันท์ รอดเนียม; Nichanan Rodneam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      บริการผู้ป่วยจิตเวชเป็นเรื่องสำคัญในการจัดระบบบริการสุขภาพ เพราะทรัพยากรที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดกลุ่มโ ...
    • การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย : ผลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการสำรวจระดับประเทศเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเข้ารับบริการทันตกรรมของประชาชนไทย การใช้สิทธิสวัสดิการเพื่อรับการรักษา รวมถึงค่าใช้จ่ายทางทันตกรรมที่เกิดขึ้น ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • ความคิดเห็นของทีมสุขภาพและประชาชนต่อบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้านและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนแบบเศรษฐกิจพอเพียง 

      กสิวัฒน์ ศรีประดิษฐ์; Kasiwat Sripradit; สุภัสสร วัฒนกิจ; Supussorn Wattanakit; เรวัตร์ ทองเหลือง; Rawat Tongleung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยโดยการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้านเป็นบริการสุขภาพเศรษฐกิจพอเพียง ของเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพผู้ให้บริการ และประชาชนผู้รับบริการสุขภาพดีเริ่มที่บ้าน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพผู ...
    • ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ...
    • ต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาลภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง 

      อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thumvanna; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาล ภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ Universal Coverage for Emergency Patients (UCEP) ด้านการเงินการคลัง โดยการศึกษาต้นทุนครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้ ...
    • ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยโรคที่พบมาก 5 อันดับแรก หอผู้ป่วยพิเศษศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ปีงบประมาณ 2559 

      จีรนันท์ แสงฤทธิ์; Jeeranunt Sangrit; สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton; สหภูมิ ศรีสุมะ; Sahaphume Srisuma; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ต้นทุนบริการสุขภาพเป็นตัวชี้วัดที่ผู้บริหารโรงพยาบาลให้ความสำคัญในการใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยจำแนกตามโรคที่พบมาก 5 ลำดับแรก ...
    • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมง 

      กรกต ปล้องทอง; Korakot Plongthong; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; พิชญุตม์ ภิญโญ; Phichayut Phinyo; ธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์; Theerapon Tangsuwanaruk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล การใช้เวลาในแผนกฉุกเฉินนานส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นของผู้ป่วย ตลอดจนเพิ่มการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ การทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉิน ...
    • ลักษณะทางประชากรและสังคมของบุคคลที่เสี่ยงต่อวงจรอุบาทว์ “โง่-จน-เจ็บ”: ข้อค้นพบจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      จิรพันธุ์ จรัสภัทรโรจน์; Jiraphan Jaratpatthararoj; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; กาญจนา ศิริโกมล; Kanjana Sirigomon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      เป้าประสงค์หลักของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการทำให้ประชาชนมีสิทธิในการใช้บริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเงิน เป็นการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นสำหรับคนทุกคน และลดภาระรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 โดย ชาฮีดา วิริยาทร และคณะ 2. การใช้บริการท ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2560 มี 12 บทความ ประกอบด้วย 1. ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาในเขตเมือง โดย นพพล วิทย์วรพงศ์ และคณะ 2. ความแตกต่าง ...
    • สถานการณ์ความพิการและการเข้าถึงบริการสุขภาพและบริการที่จำเป็นของรัฐสำหรับเด็กพิการในชุมชน 

      โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; ณรงค์ฤทธิ์ อัศวเรืองพิภพ; Narongrid Asavaroungpipop; ธันวรุจน์ บูรณสุขสกุล; Thanvaruj Booranasuksakul; วนิดา ชนินทยุทธวงศ์; Vanida Chaninyuthwong; วิมลวรรณ ปัญญาว่อง; Wimonwan Panyawong; ธวัลรัตน์ ศรีวิลาส; Thawanrat Sriwilas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความชุกของเด็กพิการและการเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษาและสวัสดิการของรัฐสำหรับเด็กพิการในชุมชนเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยข้อมูลเชิงปริมาณได้มาจากการสำรวจเด็กพิการในชุมชนและตรวจปร ...
    • สถานการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ คนพิการทางกายและการเคลื่อนไหว 

      ปาริชาต สุวรรณผล; Parichat Suwanpon; ดลฤดี ศรีศุภผล; Donrudee Srisuphol; วรรณศิริ นิลเนตร; Wansiri Nilnate; รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาที่ผสมผสานทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจและสัมภาษณ์เชิงลึก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของคนพิการ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกา ...
    • โปรแกรมตรวจสอบการให้บริการผู้ป่วยนอกต่างเครือข่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพ จังหวัดศรีสะเกษ 

      เชิดชาติ วิทูราภรณ์; Chirdchart Vitoraporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      โปรแกรมตรวจสอบการให้บริการผู้ป่วยนอกต่างเครือข่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่พัฒนาจากโปรแกรม Microsoft Visual Foxpro เพื่อใช้ตรวจสอบการให้บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยนอกต่างเครือข่ายของก ...