Now showing items 1-20 of 21

    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย 

      พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึงวิธีการคาดการณ์กำลังคน และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตรากำลังเภสัชกรที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการกำหนดอัตรากำลังคนเป็นส่วนสำคัญของการคาดการณ์กำลังคน ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับทุติยภูมิของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในการให้บริการทางสุขภาพระดับทุติยภูมิ โดยการวิเคราะห์ก ...
    • การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569 

      รัชนี จันทร์เกษ; Rutchanee Chantraket; ปราโมทย์ เสถียรรัตน์; Pramote Stienrut; ทวี เลาหพันธ์; Tawee Laohapan; วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง; Wattanasak Sornrung; ศรัณยา จันษร; Sarunya Jansorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ...
    • การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ 

      รุ่งฤดี วงค์ชุม; Rungrudee Wongchum; พีรนุช ลาเซอร์; Peeranuch LeSeure; อรทิพา ส่องศิริ; Onthipa Songsiri; พิชาภรณ์ จันทนกุล; Pichaporn Janthanakul; วิชชุดา เจริญกิจการ; Vishuda Charoenkitkarn; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตพยาบาลชุมชน: กรณีศึกษา โรงพยาบาลน้ำพองและโรงพยาบาลอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น 

      สุนันทา ทองพัฒน์; Sunanta Thongpat; ศุภาพิชญ์ มณีสาคร โฟน โบร์แมนน์; Suparpit Maneesakorn von Bormann (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพได้ส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพและความเป็นธรรมด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะในชนบทห่างไกล โรงพยาบาลน้ำพองและโรงพยาบาลอุบลรัตน์เป็นโรงพยาบาลชุมชนของรัฐในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเคยประสบ ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาเพื่อผลิตพยาบาลชุมชน: กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น 

      อัญชลีพร อมาตยกุล; Anchaleeporn Amatayakul; วิไลพร ขำวงษ์; Wilaiporn Khamwong; พรรณิภา ทองณรงค์; Pannipa Thongnarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      ถึงแม้ในแต่ละปีนั้น ประเทศไทยจะสามารถผลิตพยาบาลวิชาชีพได้ประมาณ 6,500 คนต่อปี จากสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลทั้งหมดกว่า 80 แห่งแต่กลับพบว่าปัญหาการขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพยังมีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งเป็นการขาดแคลนทั้งด้านปริมาณ ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการศึกษาของแพทย์ชนบท: กรณีศึกษาศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 

      พนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร; Panarut Wisawatapnimit; กมลรัตน์ เทอร์เนอร์; Kamolrat Turner (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      กำลังคนด้านสุขภาพเป็นหัวใจสำคัญของระบบสุขภาพ แต่ปัจจุบัน ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีปัญหาการขาดแคลนและการกระจายกำลังคนด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษขององค์การสหประชา ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisesrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิและการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ...
    • ความต้องการกำลังคนวิชาชีพสาธารณสุขของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ประยูร ฟองสถิตย์กุล; Prayoon Fongsatitkul; สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วิทยา อยู่สุข; Wittaya Yoosuk; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue; ทัศนีย์ ศิลาวรรณ; Tasanee Silawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทย นอกจากจะต้องประสบกับปัญหาในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ที่นำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำแล้ว ระบบสุขภาพก็กำลังได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ โครงสร้างประชากรที่กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • ความพึงพอใจของบุคลากรสาธารณสุขต่อการให้บริการของคณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการสุขภาพ โรงพยาบาลบ้านค่าย 

      สมชาย ศุภวาทิน; Somchai Supavatin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของบุคลากรสาธารณสุขที่มีต่อการให้บริการของคณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลบ้านค่าย ในด้านการวางแผน การจัดองค์กร การนำองค์กร และการควบคุมติดตามประเมินผล ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่อำเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ 

      สาโรจน์ ประพรมมา; Saroj Papomma (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การโอนย้ายของบุคลากรสาธารณสุขในเขตอำเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ ได้ส่งผลกระทบต่ออัตรากำลังคนด้านสาธารณสุขเป็นอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจที่จะคงปฏิบัติงานอยู่ในอำเภอนี้ประการหนึ่งก็คือ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...
    • ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขและความเครียดของบุคลากรสาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา 

      ดิเรก ภาคกุล; Direk Pakagul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยภาคตัดขวางเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาสภาวะความสุขและความเครียดและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขและความเครียดของบุคลากรด้านสาธารณสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรในสังกัดสำนักงานสาธารณสุข ...
    • ผลกระทบของข้อตกลงยอมรับร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภายใต้กรอบอาเซียน ต่อระบบสุขภาพของประเทศไทย: การวิเคราะห์ประสบการณ์จากสหภาพยุโรป 

      ชาญณรงค์ สังข์อยุทธ; Channarong Sungayuth; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพพยาบาล เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๔๙ และลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วมของวิชาชีพแพทย์ และวิชาชีพทันตแพทย์ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ อันถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อระบบสุขภาพในภูมิภาค ...
    • สถานการณ์การป่วยเป็นวัณโรคของบุคลากรในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดตาก 

      กิตติพัทธ์ เอี่ยมรอด; Kittiphat Iemrod; วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์; Witaya Swaddiwudhipong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อวัณโรคขณะปฏิบัติงานสูงกว่าประชากรทั่วไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การป่วยเป็นวัณโรคของบุคลากรในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่อยู่ใ ...
    • สถานการณ์ฉบับที่ 19 : สถานการณ์แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ในโรงพยาบาลชุมชน 

      อำพล จินดาวัฒนะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      เอกสารเผยแพร่ข้อมูลทางการแพทย์และสาธารณสุขฉบับที่ 19 : สถานการณ์แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ในโรงพยาบาลชุมชน