• การพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากการระบาดของ โควิด-19 

      ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; อินทิรา สุขรุ่งเรือง; Intira Sukrungreung; สราพร มัทยาท; Saraporn Mattayart; ภัทรพงศ์ อุดมพัฒน์; Patpong Udompat; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; พีระเดช สำรวมรัมย์; Pheeradetch Samroumram; เบญจพร รัชตารมย์; Benjaporn Rajataram; อนันต์ กนกศิลป์; Anant Kanoksilp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตถือได้ว่าเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 จากนโยบายการเว้นระยะห่างทางสังคม ทำให้โรงพยาบาลต้องเลื่อนนัดผู้ป่วยออกไป ระเบียบวิธีศึกษา ...
    • ความพึงพอใจการล้างไตทางช่องท้องและทัศนคติต่อการปลูกถ่ายไตในผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ PD First Policy 

      จตุรงค์ กิจตระกูลรัตน์; Jathurong Kittrakulrat; ภาวิณี อรรณพพรชัย; Pavinee Annoppornchai; อรอนงค์ เจียรสุจิตวิมล; Onanong Jearnsujitvimol; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      โครงการ Peritoneal Dialysis First Policy ได้เข้ามามีบทบาททำให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ได้รับการล้างไต และช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. ...