แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย

dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorSupon Limwattananonen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienen_US
dc.contributor.authorภูษิต ประคองสายen_US
dc.contributor.authorPhusit Prakongsaiten_US
dc.date.accessioned2011-06-17T08:54:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:02Z
dc.date.available2011-06-17T08:54:31Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:02Z
dc.date.issued2554-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,1(ม.ค.-มี.ค.2554) : 25-31en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3154en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อประมาณการจำนวนครัวเรือนทั่วประเทศที่ยากจนเพราะรายจ่ายสุขภาพในช่วงก่อนมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (พ.ศ.2539, 2541, 2543 และ 2545) และภายหลัง (พ.ศ.2547, 2549, 2550 และ 2551) โดยใช้ตัวแบบสมการถดถอยเชิงเส้นตรงแบบเป็นช่วง เพื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์หากไม่มีนโยบายดังกล่าว พบว่า สัดส่วนครัวเรือนในระดับประเทศ ภูมิภาคและจังหวัดที่ต้องตกอยู่ใต้เส้นความยากจนเนื่องจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาลมีแนวโน้มลดลงโดยลำดับ ประมาณการได้ว่า หากไม่มีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าใน พ.ศ.2545 ครัวเรือนที่ยากจนเนื่องจากรายจ่ายด้านสุขภาพใน พ.ศ.2551 จะมีจำนวน 100,604 ครัวเรือน การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถลดจำนวนครัวเรือนดังกล่าวลงได้จำนวน 37,628 ครัวเรือน หรือร้อยละ 37.4 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ 19 ล้านครัวเรือนในประเทศ การออกแบบระบบประกันสุขภาพโดยคำนึงถึงด้าน ความกว้าง คือ จำนวนประชากรที่ครอบคลุม และด้านความลึก คือ ขอบเขตของสิทธิประโยชน์ มีความสำคัญต่อการป้องกันมิให้ครัวเรือนต้องตกอยู่ภายใต้กับดักความยากจนเนื่องจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อยามเจ็บป่วยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeReducing Impoverishment Caused by Costly Health-care Payments: Outcome of Universal Health Care Coverage in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe major aims of the universal health care coverage (UC) policy initiated in Thailand in 2001 are not only to increase the access of people to essential health services, but also to reduce the financial risk they face due to out-of-pocket payments for health care. This study employed secondary data analysis of the Socio-Economic Survey (SES) conducted by the National Statistical Office to estimate the number of households becoming impoverished because of the payments for health care they had to make before implementation of the UC policy (1996, 1998, 2000, and 2002) and thereafter (2004, 2006, 2007, and 2008), and to compare the findings with a counter-factual UC-absent scenario, using segmented linear regression analysis. At the national, regional, and provincial levels, the proportions of households falling below the poverty line declined gradually during the study periods. Without the 2002-UC, a total of 100,604 households nationwide would be impoverished by out-of-pocket payments for health care in 2008. The UC policy in the same year could reduce the number of health-impoverished households by 37,628 (37.4%), which is equivalent to 0.2 percent of 19 million households nationwide. The health insurance system design that takes into account both “breadth” (that is, the number of the population covered) and the benefit package’ s “depth” dimensions, provides better financial risk protection and prevents households from falling into the poverty trap due to the necessity of making costly health expendituresen_US
dc.subject.keywordความยากจนen_US
dc.subject.keywordรายจ่ายด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
.custom.citationสุพล ลิมวัฒนานนท์, Supon Limwattananon, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, Viroj Tangcharoensathien, ภูษิต ประคองสาย and Phusit Prakongsait. "การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3154">http://hdl.handle.net/11228/3154</a>.
.custom.total_download1397
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month24
.custom.downloaded_this_year145
.custom.downloaded_fiscal_year252

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v5n1 ...
ขนาด: 737.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย