Show simple item record

Gaps and Opportunities in Addressing Non Communicable Diseases in Thailand with WHO’s Best Buys and Good Buys interventions

dc.contributor.authorทักษพล ธรรมรังสีen_US
dc.contributor.authorศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์en_US
dc.contributor.authorประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์en_US
dc.contributor.authorสิรินทร์ยา พูลเกิดen_US
dc.contributor.authorสุลัดดา พงษ์อุทธาen_US
dc.contributor.authorอรทัย วลีวงศ์en_US
dc.contributor.authorอรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยงen_US
dc.contributor.authorThaksaphon Thamarangsien_EN
dc.contributor.authorSiriwan Pitayarangsariten_EN
dc.contributor.authorPrapapun Iam-ananen_EN
dc.contributor.authorSirinya Phulkerden_EN
dc.contributor.authorSuladda Pongutthaen_EN
dc.contributor.authorOrratai Waleewongen_EN
dc.contributor.authorAttaya Limwattanayingyongen_EN
dc.date.accessioned2012-03-05T02:53:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:16:16Z
dc.date.available2012-03-05T02:53:18Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:16:16Z
dc.date.issued2554-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,4(ต.ค.-ธ.ค.2554) : 400-438en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3441en_US
dc.description.abstractโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่สุดในประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากการเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของทั้งการเสียชีวิตและการเจ็บป่วย ในรายงานสถานะของโรคไม่ติดต่อปี 2553 ขององค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะมาตรการระดับประชากรที่มีประสิทธิผลและความคุ้มค่า 26 มาตรการในการจัดการควบคุมและป้องกันวิกฤตปัญหาโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ โดยแบ่งเป็นกลุ่มมาตรการหลักที่มีความคุ้มค่าและควรดำเนินการที่สุด 12 มาตรการ และมาตรการที่มีความคุ้มค่าและควรดำเนินการรองลงไปอีก 14 มาตรการ มาตรการระดับประชากรเหล่านี้มุ่งเน้นที่การจัดการห้าพฤติกรรมเสี่ยงที่ส่งผลต่อปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อันได้แก่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่/ยาสูบ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ และการได้รับวัคซีนไวรัสตับอักเสบชนิดบี รายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาข้อจำกัดและโอกาสของประเทศไทยในการดำเนินการทั้ง 26 มาตรการ โดยทำการวิเคราะห์ในสามประเด็นได้แก่ หลักการและแนวคิดของมาตรการ, สถานการณ์ของมาตรการ และโอกาสในการพัฒนาความเข้มแข็ง จากการทบทวนสถานการณ์ของทั้ง 26 มาตรการ มาตรการเหล่านี้มีระดับความเข้มแข็งของเนื้อหานโยบาย, ความเข้มแข็งของการนำไปปฏิบัติ และ โอกาสในการพัฒนาความเข้มแข็งแตกต่างกัน และโดยรวมสรุปได้ว่า ประเทศไทยยังมีช่องว่างและข้อจำกัดในการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชัดเจน ทั้งด้านระดับความสำคัญ ทรัพยากร ศักยภาพ ความต่อเนื่อง การประเมินผล และการประสานงาน นอกจากนั้น บางมาตรการยังไม่มีการดำเนินการอย่างเป็นทางการ และบางมาตรการมิได้เป็นไปในทิศทางเพื่อการควบคุมและป้องกันผลต่อสุขภาพen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectโรคไม่ติดต่อen_US
dc.subjectโรคเรื้อรังen_US
dc.titleข้อจำกัดและโอกาสในการจัดการกับวิกฤติโรคเรื้อรังในประเทศไทยด้วยมาตรการระดับประชากรตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลกen_US
dc.title.alternativeGaps and Opportunities in Addressing Non Communicable Diseases in Thailand with WHO’s Best Buys and Good Buys interventionsen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeNon Communicable Diseases (NCDs) is the most important health problem in Thailand, in terms of both mortality and morbidity. In the Global Status Report on Noncommunicable Diseases 2010, World Health Organization recommends 26 effective and cost-effective interventions to tackle NCDs crisis. Further divided into 12 Best buys intervention and 14 Good buys, these population-wide policy interventions aim to address NCDs at their five major risk behaviours. These include tobacco use, alcohol consumption, food and beverage dietary, physical activity and Hepatitis B vaccination. This study describes theoretical concepts of the intervention, and analyses situations, gaps and opportunities of Thailand to adopt these 26 interventions. These interventions differ in terms of strength of policy content, implementation and feasibility to be strengthened. In conclusion, Thailand faces many major limitations in embarking these Best buys and Good buys health interventions, including priority, resources, capacity, sustainability, monitoring and evaluation, and coordination. While some are not exists at macro scale in Thailand, some interventions were not primarily designed for health purposes.en_US
dc.subject.keywordพฤติกรรมเสี่ยงen_US
dc.subject.keywordมาตรการระดับประชากรen_US
.custom.citationทักษพล ธรรมรังสี, ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์, สิรินทร์ยา พูลเกิด, สุลัดดา พงษ์อุทธา, อรทัย วลีวงศ์, อรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยง, Thaksaphon Thamarangsi, Siriwan Pitayarangsarit, Prapapun Iam-anan, Sirinya Phulkerd, Suladda Ponguttha, Orratai Waleewong and Attaya Limwattanayingyong. "ข้อจำกัดและโอกาสในการจัดการกับวิกฤติโรคเรื้อรังในประเทศไทยด้วยมาตรการระดับประชากรตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3441">http://hdl.handle.net/11228/3441</a>.
.custom.total_download1362
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month10
.custom.downloaded_this_year34
.custom.downloaded_fiscal_year52

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n4 ...
Size: 478.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record