แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สังเคราะห์บทเรียนการพัฒนาระบบส่งต่อคนไข้ภาคเหนือตอนบน

dc.contributor.authorไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาลen_US
dc.contributor.authorธรณี กายีen_US
dc.contributor.authorนเรนทร์ โชติรสนิรมิตen_US
dc.contributor.authorยุทธศาสตร์ จันทร์ทิพย์en_US
dc.contributor.authorศรีสกุล ทิพย์กมลen_US
dc.contributor.authorกรองกาญจน์ สุธรรมen_US
dc.contributor.authorวิศิษฎ์ ตั้งนภากรen_US
dc.contributor.authorรัศมี ตันศิริสิทธิกุลen_US
dc.contributor.authorPaibul Suriyawongpaisalen_EN
dc.contributor.authorToranee Kayeeen_EN
dc.contributor.authorNarain Chotirosniramiten_EN
dc.contributor.authorYuttasart Janthipen_EN
dc.contributor.authorSrisakul Thipkamolen_EN
dc.contributor.authorKrongkarn Suthamen_EN
dc.contributor.authorVisit Tangnapakornen_EN
dc.contributor.authorRassamee Tansirisithikulen_EN
dc.date.accessioned2012-05-24T09:27:05Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:03:43Z
dc.date.available2012-05-24T09:27:05Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:03:43Z
dc.date.issued2555-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 6,1(ม.ค.-มี.ค. 2555) : 7-20en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3508en_US
dc.description.abstractมีคำกล่าวว่า “คำทำนายอนาคตที่แม่นยำที่สุด คือ การสร้างอนาคตที่อยากเห็น” นั่นเอง บทสังเคราะห์ความรู้ฝังลึกและความรู้เชิงประจักษ์เกี่ยวกับการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในภาคเหนือตอนบนในรายงานนี้สะท้อนความพยายามของผู้เกี่ยวข้องในทิศทางดังคำกล่าวนั้น ความพยายามเริ่มขึ้นอย่างเป็นระบบภายหลังวิกฤตกำลังคนในรพ.มหาราชนครเชียงใหม่อันเป็นศูนย์กลางหนึ่งเดียวในการรับคนไข้ส่งต่อของเขตสาธารณสุขที่ 15 วิกฤตนี้คือ การพร้อมใจกันลาออกของพยาบาลจำนวนเกือบ 300 คนจากรพ.มหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อพ.ศ.2549 เนื่องจากปริมาณงานเพิ่มขึ้นโดยไม่ได้สัดส่วนกับแรงจูงใจ เพื่อตอบสนองต่อภาวะวิกฤต รพ.มหาราชนครเชียงใหม่จึงปรับลดจำนวนเตียงรับคนไข้ส่งต่อ ส่งผลกระทบต่อเครือข่ายการส่งต่อทั้งระบบ จึงเป็นที่มาให้เกิดการจัดตั้งกลไกประสานและร่วมมือระหว่างรพ.รัฐและเอกชนรวมทั้งรพ.มหาราชนครเชียงใหม่ กลไกเหล่านี้อำนวยให้เกิด 1) การปรับบทบาทหน้าที่ของรพ.ต่างๆภายใต้การจัดแบ่งพื้นที่เป็นโซน โดยแต่ละโซนมีแม่ข่ายหลัก แม่ข่ายรอง และลูกข่าย 2) การพัฒนาขีดความสามารถให้แก่รพ.ต่างๆโดยเฉพาะแม่ข่ายสองประเภท 3) การวางแผนและดำเนินแผนพัฒนา บริการ กำลังคน อุปกรณ์การแพทย์ อาคารสถานที่ และเทคโนโลยีการสื่อสารโดยอาศัยเงินสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน 4)การปรับเงินจูงใจให้สามารถระดมขีดความสามารถของเอกชน และรพ.สังกัดกรมการแพทย์ให้มาร่วมจัดบริการ หลักฐานปรากฏว่าระหว่างพ.ศ.2551-2553 การปรับตัวดังกล่าวนำไปสู่การปฎิเสธการรับคนไข้ส่งต่อน้อยลง การเข้าถึงบริการมาตรฐานมากขึ้น เช่น การผ่าตัดสมองผู้บาดเจ็บ การให้ยาละลายลิ่มเลือดแก่คนไข้หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน การดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด รายงานยังได้วิเคราะห์จุดเด่นและข้อจำกัดตลอดจนชี้โอกาสพัฒนาในด้านการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องครอบคลุมมิติด้านความสัมพันธ์ระหว่างคนไข้และบุคลากร ด้านสารสนเทศ และด้านการจัดการen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleสังเคราะห์บทเรียนการพัฒนาระบบส่งต่อคนไข้ภาคเหนือตอนบนen_US
dc.title.alternativeThe knowledge synthesis in shaping referral network of health services in the upper north of Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThere is a notion saying “the most reliable prediction of the future is to build it”. This synthesis of tacit and explicit knowledge in shaping referral network of health services in the upper north of Thailand reflects collective actions among doers of the region in accord with such a notion. The actions started from a health manpower crisis of the former single node of referral chain in 2006 characterized by draining of almost 300 nurses instantly from the node hospital to private hospitals after dramatic increased workload without perceived competitive adjustment of financial incentives. The crisis forced the node hospital to shift its policy of hospitalizing referred cases from unlimited to a limited quota. Joint coordinating and collaborating mechanisms among networks of public and private hospitals were set up under the jurisdiction of public health administrative region no. 15. The mechanisms facilitated 1) restructuring roles and functions of the hospitals into zones of referral chains each with a node and sub-nodes; 2) capacity building of public hospitals under the restructured zones; 3) planning of human resources, service delivery and upgrading of facilities including buildings, medical equipment and communication technology through public and private subsidies; 4) adjustment of payment mechanisms to mobilize previously untapped capacity i.e., specialized cares of private hospitals; neurosurgery of a public hospital which previously excluded emergency cases. During 2008-2010, evidence has shown a decline in the number of referred cases being turn away; better access to standard care such as thrombolysis for acute STEMI, traumatic brain surgery; neonatal care. Strengths and weaknesses were discussed. Finally, opportunity for future improvement of continuity of care within the referral network was identified in terms of relational, informational and managerial continuity.en_US
dc.subject.keywordระบบส่งต่อคนไข้en_US
dc.subject.keywordการดูแลคนไข้ต่อเนื่องen_US
dc.subject.keywordReferral Networken_US
dc.subject.keywordContinuity of Careen_US
.custom.citationไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล, ธรณี กายี, นเรนทร์ โชติรสนิรมิต, ยุทธศาสตร์ จันทร์ทิพย์, ศรีสกุล ทิพย์กมล, กรองกาญจน์ สุธรรม, วิศิษฎ์ ตั้งนภากร, รัศมี ตันศิริสิทธิกุล, Paibul Suriyawongpaisal, Toranee Kayee, Narain Chotirosniramit, Yuttasart Janthip, Srisakul Thipkamol, Krongkarn Sutham, Visit Tangnapakorn and Rassamee Tansirisithikul. "สังเคราะห์บทเรียนการพัฒนาระบบส่งต่อคนไข้ภาคเหนือตอนบน." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3508">http://hdl.handle.net/11228/3508</a>.
.custom.total_download1694
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month32
.custom.downloaded_this_year93
.custom.downloaded_fiscal_year162

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v6n1 ...
ขนาด: 1.215Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย