แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

แบบแผนในการบริโภคผักและผลไม้ของประชากรไทยใน 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร : การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3

dc.contributor.authorวราภรณ์ เสถียรนพเก้าth_TH
dc.contributor.authorWarapone Satheannoppakaoen_US
dc.contributor.authorเรวดี จงสุวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorRewadee Chongsuwaten_US
dc.contributor.authorวิชัย เอกพลากรth_TH
dc.contributor.authorWichai Aekplakornen_US
dc.contributor.authorมันทนา ประทีปะเสนth_TH
dc.contributor.authorMandhana Pradipasenen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T08:22:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:48Z
dc.date.available2008-10-03T08:22:18Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:48Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) : 116-131en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/417en_US
dc.description.abstractการสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนการบริโภคผักและผลไม้ของประชากรไทยที่อาศัยใน 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร และเป็นส่วนหนึ่งของการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 ศึกษาระหว่าง 2546 ถึง 2547 สัมภาษณ์ประชากรกลุ่มศึกษาจไนวน 39,290 คน อายุ ≥ 15 ปี ตามแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลสังคมประชากรและการบริโภคผักและผลไม้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Wilcoxon rank-sum test และ Kruskal-Wallis test ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มศึกษามีความถี่เฉลี่ยที่บริโภคผักและผลไม้เท่ากับ 5.97 และ 4.56 วันต่อสัปดาห์ ตามลำดับ โดยภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือมีความถี่เฉลี่ยในการบริโภคผักต่อสัปดาห์สูงกว่าภาคอื่นเล็กน้อย ขณะที่กรุงเทพมหานครมีความถี่ในการบริโภคผลไม้สูงกว่าภาคอื่นๆ ประชากรไทยบริโภคผัก ผลไม้ และทั้งผักและผลไม้เฉลี่ย 1.78 (มัธยฐาน = 1.14), 1.46 (มัธยฐาน = 1.00), 3.24 (มัธยฐาน = 2.86) ส่วนต่อวัน ตามลำดับ โดยประชากรในกรุงเทพมหานครบริโภคผัก ผลไม้ และทั้งผักและผลไม้ในปริมาณมากที่สุด ค่ามัธยฐานของความถี่ต่อสัปดาห์และปริมาณผักและผลไม้ที่ที่บริโภคต่อวันโดยประชากรที่อาศัยใน 4 ภาค และกรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สัดส่วนของประชากรกลุ่มศึกษาที่บริโภคผัก ผลไม้ และทั้งผักและผลไม้ตามปริมาณที่แนะนำให้บริโภค เท่ากับร้อยละ 26.9, 35.4 และ 26.6 ตามลำดับ สรุปความถี่และปริมาณการบริโภคผักและผลไม้ของคนไทยมีความแตกต่างกันระหว่างภูมิภาค และประชากรไทยส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอth_TH
dc.format.extent265531 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.titleแบบแผนในการบริโภคผักและผลไม้ของประชากรไทยใน 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร : การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3th_TH
dc.title.alternativeVegetables and Fruit Consumption Patterns among Thai Population across Four Regions and the Metropolitan Thailand National Health Examination Survey IIIen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective was to examine vegetables and fruit consumption patterns among Thai population across four regions and Bangkok. This study was a part of the National Health Examination Survey III in Thailand conducting between 2003 and 2004. A total of 39,290 individuals aged ≥ 15 years were interviewed by using a set of questionnaire including information on sociodemographic and vegetables and fruit consumption. Employing descriptive statistics, Wilcoxon rank-sum test and Kruskal-Willis test at 0.05 level of confidence. The findings demonstrated that overall, an individual had average frequencies of vegetables and fruit consumptions equal to 5.97 and 4.56 day per week, respectively. Individuals living in the Central and Northeastern regions had the highest number of days per week for vegetables consumption, while those living in Bangkok had the highest number of days for fruit consumption. On average, numbers of servings of vegetables, fruit, and both vegetables and fruit consumed a day were 1.78 (median = 1.14), 1.46 (median = 1.00), 3.24 (median = 2.86), respectively. People in Bangkok ate more vegetables, fruit, and both vegetables and fruit than those in other regions. There were significantly differences in median number of days per week and the amount of servings per day for vegetables and fruit consumed across four regions and the metropolitan (p< 0.05). Proportion of individuals who met the recommendation for vegetables, fruit, and both vegetables and fruit consumptions were 26.9 percent, 35.4 percent, and 26.6 percent, respectively. In conclusion, frequencies and amount of vegetables and fruit consumptions in Thai people varied by regions of residence. Majority of Thais had an inadequate daily amount of vegetables and fruit consumption.en_US
dc.subject.keywordผักth_TH
dc.subject.keywordผลไม้th_TH
dc.subject.keywordแบบแผนการบริโภคth_TH
dc.subject.keywordการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยth_TH
dc.subject.keywordVegetablesen_US
dc.subject.keywordConsumption Patternsen_US
dc.subject.keywordNational Health Examination Surveyen_US
.custom.citationวราภรณ์ เสถียรนพเก้า, Warapone Satheannoppakao, เรวดี จงสุวัฒน์, Rewadee Chongsuwat, วิชัย เอกพลากร, Wichai Aekplakorn, มันทนา ประทีปะเสน and Mandhana Pradipasen. "แบบแผนในการบริโภคผักและผลไม้ของประชากรไทยใน 4 ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร : การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/417">http://hdl.handle.net/11228/417</a>.
.custom.total_download1181
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year32
.custom.downloaded_fiscal_year59

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v1n2 ...
ขนาด: 259.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย