Show simple item record

การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ

dc.contributor.authorอรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใยth_TH
dc.contributor.authorโสภณ เอี่ยมศิริถาวรth_TH
dc.contributor.authorจักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์th_TH
dc.contributor.authorปณิธี ธัมมวิจยะth_TH
dc.contributor.authorสมคิด คงอยู่th_TH
dc.contributor.authorวิริชดา ปานงามth_TH
dc.contributor.authorปิยะ หาญวรวงศ์ชัยth_TH
dc.contributor.authorวิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorเศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorธีระพล สลีวงศ์th_TH
dc.contributor.authorวรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์th_TH
dc.contributor.authorชรินทร์ โหมดชังth_TH
dc.date.accessioned2017-03-21T10:24:22Z
dc.date.available2017-03-21T10:24:22Z
dc.date.issued2560-03-02
dc.identifier.otherhs2322
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4671
dc.description.abstractการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความครอบคลุมต่ำมาก ประมาณร้อยละ 10-20 สาหรับวัคซีนของหลายโรค ต่อมาความครอบคลุมของวัคซีนได้เพิ่มขึ้น โดยในปี พ.ศ.2543 ความครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 ส่งผลให้ อัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (เช่น โรคคอตีบ โรคหัด และโรคหัดเยอรมัน) ในประเทศไทยอยู่ใน ระดับต่ำ แม้ว่าความครอบคลุมของการให้วัคซีนภายใต้โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอยู่ในระดับสูง อัตรา การเกิดโรคดังกล่าวอยู่ในระดับต่ำ แต่ยังมีการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในบางพื้นที่ ในช่วงเวลา ต่างๆ ตัวอย่างเช่น มีการระบาดของโรคคอตีบในแปดจังหวัดในปี พ.ศ.2555 และมีการระบาดของโรคหัด เกิดขึ้นในเด็กทุก 3-4 ปี สาเหตุที่เป็นของการเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทย มี หลายประการ ประการแรกคือการเคลื่อนย้ายประชากรโดยเฉพาะการอพยพของแรงงานที่เข้ามาทางานใน ประเทศไทย ประการต่อมาคือ ความคุ้มครองที่เกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีนต่ำ (ต่ำกว่าเกณฑ์ที่จะก่อให้เกิด ภูมิคุ้มกันหมู่) ในกลุ่มเฉพาะ เช่น ในเด็กอายุต่ำกว่าห้าปีในบางพื้นที่ สาเหตุที่เป็นไปได้อีกประการคือ การ ลดลงของภูมิคุ้มกันในผู้ใหญ่ การประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้ดังกล่าวข้างต้น จะช่วยให้เข้าใจถึงสถานการณ์ที่ เกิดขึ้นจริง อันนำไปสู่การวางมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วย วัคซีนในประเทศไทย ในช่วงที่มีการระบาดของโรคคอตีบ ปี พ.ศ.2555 บริเวณพรมแดนระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก็มีการระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบเอ โดยมีอัตราป่วย 355 ต่อ 100,000 ผลการสอบสวนการระบาดครั้งนี้ระบุว่า น้ำและน้ำแข็งที่ปนเปื้อนเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ จะเห็นได้ว่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยประสบกับการระบาดของโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ หลายครั้งในหลายพื้นที่ ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อหลายพันคน และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหลายร้อยราย โดยที่ในปัจจุบันวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบชนิดเอไม่รวมอยู่ในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในปัจจุบันมีผู้คนกว่า 3.5 ล้านคนที่ไม่มีสัญชาติไทยอาศัยอยู่ในประเทศไทย เหล่านี้รวมผู้อยู่อาศัยระยะยาวและเด็กที่อพยพย้ายถิ่นเกิดในประเทศไทย โดยประมาณ 3.1 ล้านคนเป็นแรงงานที่ทำงานในประเทศไทย คิดเป็นร้อยละ 8 ของแรงงานทั้งหมดของไทย เนื่องจากความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยจึงเป็นจุดหมายปลายทางหลักสำหรับแรงงานผู้อพยพในภูมิภาคนี้ แรงงานข้ามชาติดังกล่าวมีความเสี่ยงต่อภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพเนื่องจากการเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานและสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ดี อย่างไรก็ตามมีข้อมูลเกี่ยวกับระดับภูมิคุ้มกันของแรงงานข้ามชาติกลุ่มนี้รวมไปถึงรูปแบบการติดต่อและการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชากรแรงงานอพยพดังกล่าวที่ทำงานในประเทศไทยมีเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในบางพื้นที่ของประเทศไทย ก่อให้เกิดคำถามต่อไปนี้ อะไรคือเหตุผลสำหรับการเกิดซ้ำของโรคเหล่านี้ การระบาดของโรคเหล่านี้จะขยายไปสู่พื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทยหรือไม่ จะมีวิธีการควบคุมได้อย่างไร ผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยประชากรไทยเองมีระดับภูมิคุ้มกันอย่างเพียงพอต่อการป้องกันการกลับมาเกิดซ้ำของโรคต่างๆ เช่น โรคคอตีบ โรคหัด และโรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอหรือไม่ การศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทย โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระบาดวิทยาและพลวัตรของการเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทย 2) หาความชุกของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประชากรแรงงานอพยพในประเทศไทย 3) ศึกษารูปแบบการติดต่อและการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชากรแรงงานอพยพที่ทำงานในประเทศไทย 4) ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ที่เป็นไปได้ในการแพร่ระบาดของโรคที่สามารถป้องกันวัคซีนในกลุ่มผู้อพยพและคนไทย โดยคำนึงถึงผลกระทบของรูปแบบการเคลื่อนย้ายประชากรและเพื่อเสนอแนวทางการควบคุมที่เหมาะสม 5) ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อประเมินมิติการกระจายตัวของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มแรงงานข้ามชาติและประชากรไทย และ 6) ศึกษาต้นทุนประสิทธิผลของการดำเนินการรณรงค์ฉีดวัคซีนสำหรับประชากรผู้อพยพในประเทศไทย ผลลัพธ์สุดท้ายของโครงการทั้งหมดจะเป็นหลักฐานที่ภาคสาธารณสุขสามารถใช้ในการบรรเทาการป้องกันและควบคุมโรคได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectไวรัสตับอักเสบเอth_TH
dc.subjectคอตีบth_TH
dc.subjectหัดเยอรมันth_TH
dc.subjectหัด--ภูมิคุ้มกันวิทยาth_TH
dc.subjectโรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeImmunization was first practiced in Thailand in 1977 through the National Expanded Program on Immunization (EPI) with the aim of significantly reducing morbidity and mortality from common vaccine-preventable diseases. When first introduced the EPI program coverage level was very low: about 10-20 percent for many diseases. By 2000 vaccine coverage for nearly all vaccines in the EPI program was more than 90 percent. Consequently, rates of vaccine preventable diseases (such as diphtheria, measles, and rubella) in Thailand are very low. Despite high vaccine coverage in Thailand, however, there has been a resurgence of some vaccine-preventable diseases. For example, there was a resurgence of diphtheria in eight provinces in 2012, and measles outbreaks occur among children every 3-4 years. There are a few possible explanations for the return of vaccine-preventable diseases in Thailand. The first possible reason is population movement, in particular migration to Thailand. Next is low immunization coverage (below the critical threshold) in particular locations among children aged less than five years old. The other possible reason for the resurgence is waning immunity in adults. An evaluation of these possible reasons for the resurgences would help us to identify effective measures to protect against a return of vaccine preventable diseases in Thailand. During the period (2012) of the diphtheria outbreak, Bueng-Kan which is located at the border between Thailand and the Lao People's Democratic Republic, there was an outbreak of hepatitis A with a case rate of 355 per 100,000. Investigation of this outbreak suggested that contaminated water and ice were sources of infection. During the past decade Thailand has faced several major outbreaks of hepatitis A, which resulted in thousands of infected people and hundreds of hospitalizations. Currently, the hepatitis vaccine is not included in the EPI program. There are more than 3.5 million persons without Thai nationality living in the country, including many long-term residents and children of migrants born in Thailand. The approximately 3.1 million migrants working in Thailand comprise about 8 per cent of the labour force. Because of Thailand’s relative economic and social stability, it is a primary destination for many regional worker migrants. Those migrants are vulnerable to health risks due to limited or inadequate access to basic health services and poor living conditions. However, there is little or no data on the immunization coverage of this group as well as on their movement inside Thailand.The resurgence of vaccine preventable diseases in some parts in Thailand raises the following questions. What are the reasons for these resurgences? Will the epidemics of these diseases expand to others part of Thailand? How can they be controlled? Is Thailand sufficiently protected against a return of vaccine preventable diseases such as diphtheria, measles, rubella, and hepatitis A? In order to gain insights into the resurgence of vaccine preventable diseases in Thailand, this project propose to: 1) explore the epidemiology and dynamics of the resurgence of vaccine preventable disease epidemics in Thailand; 2) determine the seroprevalence of vaccine preventable diseases among migrant populations in Thailand; 3) determine contact and movement patterns of migrant populations in Thailand; 4) use mathematical models to demonstrate possible scenarios for the spread of vaccine preventable diseases among migrants and Thai nationals taking into account the effect of population movement patterns and to suggest optimal control strategies; 5) use mathematical models to evaluate the spatial dimension of vaccine preventable disease spread among migrants and the Thai population; and 6) determine the cost-effectiveness of implementing vaccination campaigns for the migrant population in Thailand. The end result of the whole project will be an evidence base which can be practically used by the public health sector for epidemic mitigation, prevention and control.th_TH
dc.identifier.callnoWC100 อ413ก 2560
dc.identifier.contactno57-051
.custom.citationอรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์, ปณิธี ธัมมวิจยะ, สมคิด คงอยู่, วิริชดา ปานงาม, ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย, วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์, เศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์, ธีระพล สลีวงศ์, วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์ and ชรินทร์ โหมดชัง. "การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4671">http://hdl.handle.net/11228/4671</a>.
.custom.total_download297
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs2322.pdf
Size: 9.435Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record