Show simple item record

Food Consumption Behaviors among Different Groups of Thai Population: Do Demographic, Socio-Economic, and Health Status Matter?

dc.contributor.authorชัชวาลย์ เผ่าเพ็งth_TH
dc.contributor.authorChatchawarn Paopengen_US
dc.contributor.authorสุลัดดา พงษ์อุทธาth_TH
dc.contributor.authorSuladda Ponguttaen_US
dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorSupon Limwattananonen_US
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorChulaporn Limwattananonen_US
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ไชยสงค์th_TH
dc.contributor.authorSurasak Chaiyasongen_US
dc.contributor.authorกัญจนา ติษยาธิคมth_TH
dc.contributor.authorKanjana Tisayaticomen_US
dc.contributor.authorวลัยพร พัชรนฤมลth_TH
dc.contributor.authorWalaiporn Patcharanarumolen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienen_US
dc.date.accessioned2017-09-28T04:14:55Z
dc.date.available2017-09-28T04:14:55Z
dc.date.issued2560-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,3 (ก.ค.-ก.ย. 2560) : 316-326th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4779
dc.description.abstractพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป กับปัจจัยด้านลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงสถานะสุขภาพที่เกี่ยวข้อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารในที่นี้ศึกษาการดื่มเครื่องดื่มรสหวานและการรับประทานผักและผลไม้สด 4 ทัพพีขึ้นไปต่อวัน ด้วยแบบจำลอง multiple logistic regression โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ผลการศึกษาพบว่า เมื่อจำแนกตามอายุ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา (อายุ 15-24 ปี) มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงที่สุดเมื่อเทียบกับช่วงวัยอื่นๆ อีกทั้งยังมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเครื่องดื่มรสหวานสูงกว่าและรับประทานผักและผลไม้สด 4 ทัพพีขึ้นไปน้อยกว่า เมื่อจำแนกตามอาชีพพบว่า ผู้ที่เป็นลูกจ้างทั้งลูกจ้างรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจและลูกจ้างเอกชนมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเครื่องดื่มรสหวานสูงกว่าผู้ประกอบธุรกิจตนเอง/ผู้ช่วยธุรกิจครัวเรือน เมื่อพิจารณาตามเศรษฐฐานะพบว่า ยิ่งมีระดับเศรษฐฐานะสูงขึ้นยิ่งมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเครื่องดื่มรสหวานสูงขึ้น นั่นคือ ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นกลุ่มเสี่ยงที่ประกอบด้วยกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ลูกจ้างรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจและลูกจ้างเอกชน และผู้ที่มีความสามารถซื้อเครื่องดื่มรสหวานสูงตามเศรษฐฐานะ ดังนั้น ควรมีมาตรการที่มุ่งเป้าไปที่กลุ่มดังกล่าว เช่น การส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพของสถานศึกษาและสถานที่ทำงาน การใช้มาตรการด้านภาษีและราคาเพื่อส่งเสริมให้มีโอกาสเข้าถึงอาหารที่ดีต่อสุขภาพเพิ่มขึ้น รวมถึงการสร้างความตระหนักและการให้ความรู้แก่ประชาชนในการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectการบริโภคอาหารth_TH
dc.subjectไทย--ประชากรth_TH
dc.subjectNon-Communicable Diseasesen_US
dc.subjectพฤติกรรมการบริโภคth_TH
dc.subjectFood Consumptionen_US
dc.titleความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไรth_TH
dc.title.alternativeFood Consumption Behaviors among Different Groups of Thai Population: Do Demographic, Socio-Economic, and Health Status Matter?en_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeAn unhealthy diet is a major risk factor of obesity and non-communicable diseases (NCDs). The diet-related health problems are increasing continually in Thailand. This study aimed to assess the association between dietary patterns of Thai adults (15 years old and above) and their demographic, socio-economic and health status. In this study, the dietary patterns asked on daily consumption of sugar-sweetened beverages (SSBs), and adequate intake of fruits and vegetables (FVs) at least 4 ladles and above per day. The data, obtained from the 2015 National Health and Welfare Survey, were ana¬lyzed using descriptive data analysis and multiple logistic regression. The results show that Thai adults aged 15-24 years old were more likely to drink SSBs and to consume less than 4 ladles a day of FVs compared to other age groups. Government/state and private employees were more likely to drink SSBs every day than the business owners. Compared to the poorest, people with higher economic status were more likely to drink SSBs daily. The findings suggest that nutrition policy should focus in¬tensively on high risk groups including students, government/state and private employees and people with high ability to pay for SSBs. Potential interventions include a comprehensive nutrition promotion program in and around education institutions as well as in workplace. Pricing and taxation and social marketing campaign are also the promising strategies to promote the consumption of healthy diet among Thai population.en_US
dc.subject.keywordNCDen_US
.custom.citationชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง, Chatchawarn Paopeng, สุลัดดา พงษ์อุทธา, Suladda Pongutta, สุพล ลิมวัฒนานนท์, Supon Limwattananon, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, Chulaporn Limwattananon, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, Surasak Chaiyasong, กัญจนา ติษยาธิคม, Kanjana Tisayaticom, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4779">http://hdl.handle.net/11228/4779</a>.
.custom.total_download3529
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month71
.custom.downloaded_this_year210
.custom.downloaded_fiscal_year426

Fulltext
Icon
Name: hsri_journal_v11n ...
Size: 267.2Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record