แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

จุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช

dc.contributor.authorสุณิชา ชานวาทิกth_TH
dc.contributor.authorSunicha Chanvatiken_EN
dc.contributor.authorอังคณา สมนัสทวีชัยth_TH
dc.contributor.authorAngkana Sommanustweechaien_EN
dc.contributor.authorพรรัชดา มาตราสงครามth_TH
dc.contributor.authorPohnratchada Mattrasongkramen_EN
dc.contributor.authorวรณัน วิทยาพิภพสกุลth_TH
dc.contributor.authorWoranan Witthayapipopsakulen_EN
dc.contributor.authorไมตรี พรหมมินทร์th_TH
dc.contributor.authorMaitree Prommintaraen_EN
dc.contributor.authorพรพิมล อธิปัญญาคมth_TH
dc.contributor.authorPornpimon Athipunyakomen_EN
dc.contributor.authorแสนชัย คำหล้าth_TH
dc.contributor.authorSaenchai Khamlaren_EN
dc.contributor.authorศิริพร ดอนเหนือth_TH
dc.contributor.authorSiriporn Donnuaen_EN
dc.contributor.authorวลัยพร พัชรนฤมลth_TH
dc.contributor.authorWalaiporn Patcharanarumolen_EN
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienen_EN
dc.date.accessioned2018-01-03T07:37:05Z
dc.date.available2018-01-03T07:37:05Z
dc.date.issued2560-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 11,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560) : 581-592th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4820
dc.description.abstractบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทบทวนวิธีการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืชในประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ การขึ้นทะเบียนยาต้านจุลชีพที่ใช้ในพืช ชนิดของยาต้านจุลชีพที่ได้รับการขึ้นทะเบียนให้ใช้ในพืช หน่วยงานที่รับผิดชอบ การออกข้อบังคับ เนื้อหาข้อบังคับที่ใช้ในการปฏิบัติโดยย่อ และการกำกับติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช และ (2) เพื่ออธิบายสถานการณ์ปัจจุบันในการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืชในประเทศไทย โดยคาดหวังว่า ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาระบบการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืชของประเทศไทย ซึ่งจะส่งผลให้การควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศสหรัฐอเมริกามียาต้านจุลชีพ 3 ชนิดที่ผ่านการขึ้นทะเบียนให้สามารถใช้ในพืชได้อย่างถูกกฎหมาย ได้แก่ streptomycin, oxytetracycline, และ kasugamycin ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานพิทักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรแห่งสหรัฐอเมริกาที่ทำหน้าที่ในการติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช สำหรับประเทศไทยนั้น มีการนำยาต้านจุลชีพมาใช้ในการควบคุมโรคในพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย เช่น โรคกรีนนิ่งหรือโรคฮวงลองบิงที่เกิดในส้ม แต่เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มียาต้านจุลชีพชนิดใดที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตรให้สามารถนำมาใช้ในพืช เกษตรกรจึงนำยาต้านจุลชีพที่ขึ้นทะเบียนสำหรับใช้ในมนุษย์ไปใช้ในพืช ความพยายามในการควบคุมและติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพในประเทศไทยที่ผ่านมามีเพียงการพัฒนาระบบติดตามการกระจายยาต้านจุลชีพที่ใช้ในมนุษย์บางชนิดเท่านั้น ยังไม่มีการพัฒนาระบบติดตามการกระจายยาต้านจุลชีพที่ใช้ในพืช รวมถึงการพัฒนาบุคลากรและห้องปฏิบัติการให้มีความสามารถในการตรวจเชื้อดื้อยา และยาต้านจุลชีพตกค้างในสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การวางแผนในการพัฒนาระบบติดตามยาต้านจุลชีพในพืช และการพัฒนาบุคลากรและห้องปฏิบัติการจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องทำการศึกษาเพื่อควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพไม่ให้ไปปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาต้านจุลชีพth_TH
dc.subjectHuanglongbing Diseaseen_EN
dc.titleจุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืชth_TH
dc.title.alternativeThe Surveillance of Antimicrobial Consumption in Plant: A Starting Pointen_EN
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study has been conducted under the Thai Surveillance of Antimicrobial Consumption which is an official partnership program between Department of Agriculture (DOA), Department of Livestock Development (DLD), Department of Fishery (DOF), Food and Drug Administration (FDA), Department of Medical Sciences (DMSC), International Health Policy Program (IHPP), Ministry of Public Health, and Kasetsart University. The study aims to (1) review measures used to control antimicrobial use in plant agriculture in developed countries including registration of antimicrobials for plants, list of approved antimicrobials for plants, relevant authority agencies, regulations, and surveillance system for antimicrobial use in plants, and (2) to explain the current situation in Thailand regarding the control of antimicrobial use in plants. The results of this study can contribute to the development of effective surveillance system for antimicrobial consumption in plants and all living things. In the United States, the U.S. Environmental Protection Agency (U.S.EPA) has approved three antimicrobials for using in plants, namely streptomycin, oxytetracycline, and kasugamycin. In addition, there is the national program under the United States Department of Agriculture (USDA) that takes part in the surveillance of antimicrobial use in plants. In Thailand, antimicrobials are used to control plant diseases caused by bacterial infection, for example, Greening or Huanglongbing disease in mandarins. Since there is no antimicrobial registered for plant agriculture, farmers then used the antimicrobials registered for human use on plant. So far, the attempt to control and monitor antimicrobial consumption in Thailand is limited to certain some antimicrobials for human use. There is neither surveillance system for antimicrobial use in plants nor development plan to increase capacity of relevant personnel and laboratories in order to detect residual antimicrobials and antimicrobial resistant bacteria contaminated in the environment. Hence, the development of the surveillance system for antimicrobial use in plants and capacity building for personnel and laboratories are the important areas for further studies in order to control environmental contamination from antimicrobials.en_EN
dc.subject.keywordGreening Diseaseen_EN
.custom.citationสุณิชา ชานวาทิก, Sunicha Chanvatik, อังคณา สมนัสทวีชัย, Angkana Sommanustweechai, พรรัชดา มาตราสงคราม, Pohnratchada Mattrasongkram, วรณัน วิทยาพิภพสกุล, Woranan Witthayapipopsakul, ไมตรี พรหมมินทร์, Maitree Prommintara, พรพิมล อธิปัญญาคม, Pornpimon Athipunyakom, แสนชัย คำหล้า, Saenchai Khamlar, ศิริพร ดอนเหนือ, Siriporn Donnua, วลัยพร พัชรนฤมล, Walaiporn Patcharanarumol, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร and Viroj Tangcharoensathien. "จุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4820">http://hdl.handle.net/11228/4820</a>.
.custom.total_download1290
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month19
.custom.downloaded_this_year111
.custom.downloaded_fiscal_year203

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri_journal_v11n ...
ขนาด: 1.217Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย