Show simple item record

การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

dc.contributor.authorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorอัญชลี เหมชะญาติth_TH
dc.contributor.authorประยงค์ แก่นลาth_TH
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สุดสมบูรณ์th_TH
dc.date.accessioned2018-01-04T09:27:42Z
dc.date.available2018-01-04T09:27:42Z
dc.date.issued2561-01
dc.identifier.otherhs2380
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4825
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) เพื่อสร้างและพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเชิงบูรณาการระหว่างทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยพัฒนาหลักสูตรโดยการนำข้อมูลจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุจากผู้สูงอายุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดกรอบหลักสูตรฉบับร่าง ซึ่งประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของหลักสูตร คุณสมบัติของผู้เรียน ระยะเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในหลักสูตร และวิธีการประเมินผล จากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้องของหลักสูตรฉบับร่าง และปรับปรุงหลักสูตรโดยประมวลผลจากการตรวจสอบ แล้วจึงนำหลักสูตรไปทดลองใช้กับผู้สูงอายุจำนวน 50 คน และประเมินด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อการจัดการกิจกรรมการเรียนในหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบทดสอบสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคของการแสดงพฤติกรรมการส่งเสริมเพื่อดูแลตนเอง การยอมรับความสามารถในการดูแลตนเอง และสภาพความเป็นจริงในการปัจจุบันในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีดูแลตนเองของเพนเดอร์ อยู่ในระดับมาก พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยคำนึงถึง ด้านเงื่อนไขคุณธรรมสูงสุด และคำนึงถึงด้านการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีน้อยที่สุดการรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพเพื่อดูแลตนเอง พบว่า การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพเพื่อดูแลตนเองโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรการดูแลตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.97 3) ผู้สูงอายุที่เรียนด้วยหลักสูตรการดูแลตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่าผู้สูงอายุที่ไม่ได้เรียนด้วยหลักสูตรการดูแลตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเมื่อทดสอบความแตกต่างด้วย t-test พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แสดงว่า ผลคะแนนของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการดูแลตนเองth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--สุขภาพและอนามัยth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.publicationโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยผลงานวิจัย 2 เรื่อง คือ 1. การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.th_TH
dc.identifier.callnoWT100 ส879ก 2561
dc.identifier.contactno59-039
.custom.citationโสภนา สุดสมบูรณ์, อัญชลี เหมชะญาติ, ประยงค์ แก่นลา and สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. "การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4825">http://hdl.handle.net/11228/4825</a>.
.custom.total_download636
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year17

Fulltext
Icon
Name: hs2380.pdf
Size: 2.329Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record