แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569

dc.contributor.authorรัชนี จันทร์เกษth_TH
dc.contributor.authorRutchanee Chantraketen_US
dc.contributor.authorปราโมทย์ เสถียรรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPramote Stienruten_US
dc.contributor.authorทวี เลาหพันธ์th_TH
dc.contributor.authorTawee Laohapanen_US
dc.contributor.authorวัฒนศักดิ์ ศรรุ่งth_TH
dc.contributor.authorWattanasak Sornrungen_US
dc.contributor.authorศรัณยา จันษรth_TH
dc.contributor.authorSarunya Jansornen_US
dc.date.accessioned2018-06-28T07:30:28Z
dc.date.available2018-06-28T07:30:28Z
dc.date.issued2561-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 12,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561) : 254-266th_TH
dc.identifier.issn0858-9437
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4908
dc.description.abstractการศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) โดยการสำรวจ การสนทนากลุ่มและการคาดการณ์กำลังคนโดยใช้วิธีความต้องการใช้บริการสุขภาพ (health demand method) ผ่านกระบวนการทำงานของคณะทำงานวิชาชีพ และคณะทำงานระดับบริการ ระหว่างเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 - ตุลาคม พ.ศ.2559 ผลการศึกษา กำลังคนในสถานบริการภาครัฐทั่วประเทศ มีกำลังคนที่ให้บริการการแพทย์แผนไทย จำนวน 11,279 คน ประกอบด้วย แพทย์แผนไทยและแพทย์แผนไทยประยุกต์ จำนวน 2,692 คน และผู้ช่วยการแพทย์แผนไทย จำนวน 8,587 คน การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยของระบบบริการสาธารณสุข 3 ระดับ ในปี พ.ศ. 2569 เมื่อคำนึงถึงภาระงานทั้งหมด พบว่า มีความต้องการแพทย์แผนไทยจำนวน 13,275–16,534 คน และผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจำนวน 14,714–18,509 คน หรือเทียบเป็นอัตราส่วนจำนวนประชากรที่รับผิดชอบต่อแพทย์แผนไทยหนึ่งคนเท่ากับ 4,015-5,000 คน และจำนวนประชากรที่รับผิดชอบต่อผู้ช่วยแพทย์แผนไทยหนึ่งคนเท่ากับ 3,586-4,511 คน ส่วนการผลิตบุคลากรของสถาบันการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทย 27 แห่ง ระหว่างปี พ.ศ. 2549–2558 มีการรับบุคคลเข้าศึกษา 11,034 คน อยู่ระหว่างการศึกษา 4,502 คน และสำเร็จการศึกษาแล้ว 6,532 คน ซึ่งแผนการผลิตของสถาบันการศึกษามีจำนวน 1,080 คนต่อปี และคาดว่าจะผลิตบุคลากรฯ ได้รวมทั้งสิ้น 19,080 คนเมื่อถึงปี พ.ศ. 2569 ข้อสรุป แพทย์แผนไทยและแพทย์แผนไทยประยุกต์ยังขาดแคลนอยู่ระหว่าง 10,583–13,842 คน และผู้ช่วยแพทย์แผนไทยยังขาดแคลนอยู่ระหว่าง 6,127-9,922 คน และในอีก 10 ปีข้างหน้า อัตราส่วนแพทย์แผนไทยต่อประชากรจะเท่ากับ 1 : 4,454 ขณะที่ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจะเท่ากับ 1 : 3,996 ด้านการผลิตกำลังคนของสถาบันการศึกษาทั้ง 27 แห่งมีกำลังคนสะสมถึงปลายปี พ.ศ. 2569 จำนวน 19,080 คน ส่งผลให้เกินความต้องการอยู่ระหว่าง 2,546–5,805 คนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการวางแผนกำลังคนth_TH
dc.subjectแพทย์แผนไทยth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth manpoweren_US
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth personnelen_US
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์th_TH
dc.subjectMedical personnelen_US
dc.subjectTraditional Medicine--Thaien_US
dc.titleการสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569th_TH
dc.title.alternativeThai Public Health System and Workforce Planning for Thai Traditional Medicine in the Year 2026en_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis mixed methods research study of workforce situation for Thai traditional medicine (TTM) in state-run health-care facilities, the production of TTM workforce in educational institutions, and TTM workforce planning for future workforce development involved a survey, focus group discussions, and workforce demand forecast using the heath demand method. All activities were involved with the multi-disciplinary and the service providers working groups from November 2015–October 2016. The results revealed that across the country there were 11,279 TTM personnel, including 2,692 TTM and applied TTM practitioners, and 8,597 TTM assistants in 2016. TTM workforce demand forecast for three levels of health services, based on the workload, showed that in 2026 there will be demand for 13,275–16,534 TTM practitioners and 14,714–18,509 TTM assistants. That will result in the service provider to population ratios of 1 : 4,015–5,000 for TTM practitioners and 1 : 3,586–4,511 for TTM assistants. Regarding the workforce production capacity at all 27 TTM educational institutions, (until 2016) 11,034 students had been admitted to the program, of whom 4,502 were studying in 2016, and 6,532 had been graduated cumulatively. According to the production plan, beginning in 2017 there will be 1,080 new TTM graduates each year, making a cumulative total of 19,080 graduates in 2026. In conclusion, currently there are shortages of 10,583–13,842 TTM practitioners and 6,127–9,922 TTM assistants. In the next 10 years, the ratio of TTM practitioner to population will be 1 : 4,454 and that for TTM assistants will be 1 : 3,996. As for workforce production in 27 institutions, there will be cumulatively 19,080 TTM graduates by 2026, resulting in a surplus of 2,546–5,805, compared with demanden_US
.custom.citationรัชนี จันทร์เกษ, Rutchanee Chantraket, ปราโมทย์ เสถียรรัตน์, Pramote Stienrut, ทวี เลาหพันธ์, Tawee Laohapan, วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง, Wattanasak Sornrung, ศรัณยา จันษร and Sarunya Jansorn. "การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4908">http://hdl.handle.net/11228/4908</a>.
.custom.total_download5108
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month38
.custom.downloaded_this_year290
.custom.downloaded_fiscal_year410

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v12n ...
ขนาด: 397.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย