• การประเมินผล 10 ปีโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; นุศราพร เกษสมบูรณ์; สุรศักดิ์ สุนทร; อรณัชชา เซ็นโส; ปิยะอร แดงพยนต์; กนกวรรณ เส็งคำภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขแผนงานวิจัยและพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ, 2554-11)
      โครงการศึกษาประเมินผล ๑๐ ปี โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลบ้านแพ้วในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา หลังจากเปลี่ยนเป็นองค์การมหาชน วิธีการศึกษาใช้ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลทุติยภูมิ ...
    • การประเมินผลเพื่อสร้างเสริมพลังอำนาจ: ทางออกที่ท้าทาย 

      อรทัย อาจอ่ำ; Orathai Ard-am (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549)
      การดำเนินงานด้านสุขภาพที่ผ่านมามักขาดการประเมินผล ถึงแม้จะมีการประเมินผล แต่การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ยังมีน้อย เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่ใช้ไป ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากทัศนะ หรือมุมมองเกี่ยวกับการประเมินผล ซึ่งส่วนใหญ่ยั ...
    • การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพฉบับสมบูรณ์ กรณีศึกษาประเทศไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ...
    • การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (เอกสารเผยแพร่) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การปรับสภาพบ้านเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการ 

      กตัญญู หอสูติสิมา (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2556-06)
      หนังสือเล่มนี้ จะขอกล่าวถึง การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพในสังคม ที่จะทำให้ทุกคนสามารถ ดำรงชีวิตที่พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น แม้จะมีข้อจำกัดทางกายอยู่บ้าง โดยเฉพาะในระดับครัวเรือนที่อยู่อาศัยที่เป็นฐาน พื้นที่ชีวิตหลักที่สำคัญ ...
    • การพัฒนากำลังคน ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; ประพจน์ เภตรากาศ (สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2551-03)
      การพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรจากรายการบัญชียาสมุนไพร พ.ศ.2549 เป็นประเด็นทางยุทธศาสตร์ในแผนยุทธ์ศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 ...
    • การสื่อสารสุขภาพ 

      ปาจรีย์ ธนะสมบูรณ์กิจ (แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.), 2550-05-01)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.) โดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (พ.ศ. 2546-2551) เกิดขึ้นเพื่อพัฒนากลไกและความเป็นวิชาชีพของการสื่อสารสุขภาพ เพิ่มศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพ รูปแบบวิธีการทำสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพ ...
    • การเมืองและดุลอำนาจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นวลน้อย ตรีรัตน์; แบ๊งค์ งามอรุณโชติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนังสือ “การเมืองและดุลอำนาจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” เขียนขึ้นด้วยเวลาอันจำกัดเพียงประมาณหนึ่งเดือนเศษเท่านั้น ด้วยความเกรงใจผู้ติดต่อ ซึ่งเป็นรุ่นพี่ที่มีความเคารพนับถือกันมานาน ประกอบกับความขัดแย้งในระบบหลักประก ...
    • การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคม ที่อยู่เบื้องหลังข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศรวมถึงประเทศ ...
    • การใช้ประโยชน์งานวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ มีบทบาทในการพัฒนาระบบสาธารณสุข โดยการสนับสนุนส่งเสริมการวิจัยร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ เพื่อสร้างและจัดการความรู้สู่การพัฒนานโยบาย ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ...
    • ก้าวต่อไป การวิจัยระบบสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ระบบสุขภาพไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด พรบ.กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ได้ผลักดันให้มีการพัฒนารูปแบบการถ่ายโอนสถานพยาบาลภาครัฐไปอยู่ภายใต้การดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • ก้าวที่ผ่านไปบนเส้นทางการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่างปี 2542-2550 

      ปรีดา แต้อารักษ์; นิภาพรรณ สุขศิริ; รำไพ แก้ววิเชียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      ในยุคที่กระแสการปฏิรูประบบสุขภาพยังมาแรง หลายคนมองว่าการกระจายอำนาจด้านสุขภาพจะเป็นนโยบายหนึ่งที่จะส่งผลต่อการปฏิรูประบบสุขภาพมากที่สุด และด้วยปัจจัยสนับสนุนจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หลายคนก็คาดเดาว ...
    • ข้อมูลการเฝ้าระวังเพื่อเยียวยาสังคม 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป เขตบริการสุขภาพ กรุงเทพมหานคร 

      คณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2557-01)
      กรุงเทพมหานคร เป็นมหานครขนาดใหญ่ มีจำนวนประชากรหนาแน่นมากที่สุดในประเทศไทยและเป็นลำดับที่ 13 ของโลก มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคนทั้งที่มีทะเบียนบ้านและไม่มี ซึ่งมีความหลากหลายทั้งด้านสัญชาติ เชื้อชาติ และวัฒนธรรม รวมถึง ...
    • ข้อเสนอการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้กระทรวงสาธารณสุข 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)
      รายงานนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อวางรากฐานของระบบบริการปฐมภูมิให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ต่อเนื่องจากความพยายามที่ได้ริเริ่มมาแล้ว ตั้งแต่การจัดตั้งระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเมื่อปี2546 เป้าหมายสำค ...
    • ข้อเสนอรูปแบบองค์กร โครงสร้าง บทบาทหน้าที่และกลไกความเชื่อมโยงเพื่อการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศกลางเพื่อการจัดการข้อมูลหลักประกันสุขภาพ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-02-01)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอ รูปแบบองค์กร ขอบเขต บทบาท ภารกิจ โครงสร้าง กลไกและความเชื่อมโยงของหน่วยงานศูนย์สารสนเทศกลาง เพื่อการจัดการหลักประกันสุขภาพ หรือ National Data Clearing House (NDCH) โดยประมวลจา ...