Show simple item record

Antibody response to hepatitis B, measles, rubella mump after immunization with hepatitis B vaccine at birth, combine DTPa-HB-Hib-IPV or DTPw-HB-Hib+OPV at 2, 4, 6 and 18 months and MMR at 9 and 30 months and seroepidermiological study of antibodies against measles,mump, rubella (MMR) in Thai population for planing after polio erradication

dc.contributor.authorยง ภู่วรวรรณth_TH
dc.contributor.authorYong Poovorawanth_TH
dc.contributor.authorณศมน วรรณลภากรth_TH
dc.contributor.authorNasamon Wanlapakornth_TH
dc.contributor.authorรุจิพัชร์ วสิษฐ์ธัญเกษมth_TH
dc.contributor.authorRujipat Wasitthankasemth_TH
dc.contributor.authorนวรัตน์ โพธิ์สุวรรณth_TH
dc.contributor.authorNawarat Posuwanth_TH
dc.contributor.authorสมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorSompong Vongpunsawadth_TH
dc.contributor.authorภรจริม นิลยนิมิตth_TH
dc.contributor.authorPornjarim Nilyanimitth_TH
dc.contributor.authorจิรัชญา พื้นผาth_TH
dc.contributor.authorJiratchaya Phuenpath_TH
dc.contributor.authorHosie, Margaretth_TH
dc.contributor.authorLeuridan, Elketh_TH
dc.contributor.authorDamme, Pierre Vanth_TH
dc.date.accessioned2020-02-03T05:15:54Z
dc.date.available2020-02-03T05:15:54Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.otherhs2530
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5161
dc.description.abstractประเทศไทยมีแผนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติในทารก โดยเปลี่ยนวัคซีนรวมชนิด 4 โรค เพิ่มเป็นวัคซีน 5 โรค คือ คอตีบ ไอกรน ทั้งเซลล์บาดทะยัก ตับอักเสบ บี และ วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ Hib จากแผนการให้วัคซีนดังกล่าว ยังไม่มีข้อมูลการศึกษาของไวรัสตับอักเสบ บี ในส่วนผสมของวัคซีนรวม 5 โรค ดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงศึกษาผลของการให้วัคซีน โดยการศึกษานี้จึงแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ 1) การศึกษาภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี ในส่วนผสมของวัคซีนรวม 5 โรค 2) การศึกษาความชุกของภูมิต้านทานต่อโรคหัดในประชากรไทยของการให้วัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน และคางทูม ที่ให้กับทารกที่อายุ 9 เดือนและ 2 ขวบครึ่ง และ 3) การศึกษาความชุกของภูมิคุ้มกันต่อโรคหัดในประชากรไทยที่มีอายุเกิน 30 ปี ดังนั้น ผลของการศึกษาการให้วัคซีนรวมชนิด 5 โรคในประเทศไทย ทารกควรได้รับวัคซีนที่ 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือนและควรกระตุ้นด้วยวัคซีนดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ที่อายุ 18 เดือน ส่วนภูมิคุ้มกันโรคหัดในประชากรไทยในผู้ที่มีอายุเกิน 30 ปี ส่วนใหญ่มีภูมิคุ้มกันป้องกันโรคหัดแล้ว ความชุกในกลุ่มที่อายุน้อยกว่า 30 ปี ยังอยู่ต่ำกว่าภูมิคุ้มกันกลุ่ม herd immunity ดังนั้น ประชากรกลุ่มที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ควรได้รับวัคซีนกระตุ้นอีก 1 ครั้ง และการให้วัคซีนป้องกันหัด หัดเยอรมัน และคางทูม ในประเทศไทยที่อายุ 9 เดือนและ 2 ขวบครึ่ง ผลการกระตุ้นภูมิต้านทานได้ดี และน่าจะเหมาะสมแล้วth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectไวรัสตับอักเสบบีth_TH
dc.subjectหัดเยอรมันth_TH
dc.subjectโปลิโอไวรัส, วัคซีนth_TH
dc.subjectPoliovirus Vaccinesth_TH
dc.subjectโรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการตอบสนองภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม จากการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPa-HB-HIb-IPV หรือ DTPw-HB-Hib+OPV ที่ 2, 4, 6 และ 18 เดือน และ MMR ที่ 9 และ 30 เดือน และระบาดวิทยาภูมิคุ้มกันของโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ในประชากรไทย สำหรับการวางแผนหลังจากมีการกวาดล้างโปลิโอth_TH
dc.title.alternativeAntibody response to hepatitis B, measles, rubella mump after immunization with hepatitis B vaccine at birth, combine DTPa-HB-Hib-IPV or DTPw-HB-Hib+OPV at 2, 4, 6 and 18 months and MMR at 9 and 30 months and seroepidermiological study of antibodies against measles,mump, rubella (MMR) in Thai population for planing after polio erradicationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.identifier.callnoWC100 ย113ก 2563
dc.identifier.contactno61-063
.custom.citationยง ภู่วรวรรณ, Yong Poovorawan, ณศมน วรรณลภากร, Nasamon Wanlapakorn, รุจิพัชร์ วสิษฐ์ธัญเกษม, Rujipat Wasitthankasem, นวรัตน์ โพธิ์สุวรรณ, Nawarat Posuwan, สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์, Sompong Vongpunsawad, ภรจริม นิลยนิมิต, Pornjarim Nilyanimit, จิรัชญา พื้นผา, Jiratchaya Phuenpa, Hosie, Margaret, Leuridan, Elke and Damme, Pierre Van. "การตอบสนองภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม จากการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPa-HB-HIb-IPV หรือ DTPw-HB-Hib+OPV ที่ 2, 4, 6 และ 18 เดือน และ MMR ที่ 9 และ 30 เดือน และระบาดวิทยาภูมิคุ้มกันของโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ในประชากรไทย สำหรับการวางแผนหลังจากมีการกวาดล้างโปลิโอ." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5161">http://hdl.handle.net/11228/5161</a>.
.custom.total_download54
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2530.pdf
Size: 2.881Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record